Skip to main content

สันติภาพศึกษา: บทบาท และกระบวนการมีส่วนร่วมในการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง

 

สันติภาพศึกษา: บทบาท และกระบวนการมีส่วนร่วมในการแปรเปลี่ยนความขัดแย้ง

Peace Education: Roles and Activities on Conflict transformation

กษมา  จิตร์ภิรมย์ศรี

ปาตานีกับมินดาเนา - ทำไมต้องเปรียบเทียบเด็กทารกกับเด็กมธยมปลาย?

ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2557 ซึ่งเป็นวันที่มีพิธีลงนาม The Comprehensive Agreement on Bangsamoro มีรายงานข่าวเกี่ยวกับกระบวนการสันติภาพในมินดาเนามากขึ้น แต่ผู้เขียนรู้สึกเสียดายเมื่อเห็นรายงานข่าวในสื่อต่างๆ โดยเฉพาะจากสื่อกระแสหลักที่เปรียบเทียบ ความสำเร็จ ของมินดาเนากับ ความล้มเลว ที่เกิดขึ้นกับกระบวนการสันติภาพปาตานี

ข้อสังเกตเีกี่ยวกับบทสัมภาษณ์อุสตาซฮัสซัน ตอยิบครั้งที่ ๒

เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2556 ในรายการ “Dunia Hari Ini (โลกวันนี้)” ทางสถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกันสบาตันเปิดคลิปบันทึกเสียงของสัมภ

ข้อสังเกตจากการเสวนา “ฝันที่เป็นจริง” ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มอ. ปัตตานี

ในช่วงท้ายๆ ของงานเสวนา มีผู้เข้าร่วมท่านหนึ่งถามบรรดาท่านวิทยากรว่า ฝ่ายรัฐไทยและฝ่าย BRN มีความจริงใจแค่ไหนในกระบวนการสันติภาพ หนึ่งในวิทยากรได้รับเชิญในงานเสวนาดังกล่าวคือ ศ. ดร.

9 เดือนของปีที่ 9: ในสถานการณ์ความรุนแรงอันยอกย้อน กระบวนการสันติภาพปาตานียังคงก้าวเดินไปข้างหน้า

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 
 
ความรุนแรงที่ยืดเยื้อเรื้อรังและเข้มข้นยิ่งขึ้น