Skip to main content

ยูเอ็นกับ กอ.รมน. และความเป็นจริงในสถานการณ์

ไชยยงค์ มณีพิลึก

       ตัวเลขคนตายจากการก่อเหตุร้ายในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่บางวันสูงถึง 8 ศพ รวมทั้งเหตุซุ่มโจมตีและเหตุวางระเบิดที่มีเป้าหมายต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งกลายเป็นสถานการณ์ “รายวัน” ที่ประชาชน และ “สื่อ” เกือบจะไม่ให้ความสำคัญไปแล้ว คงเป็นคำตอบที่ชัดเจนว่า เหตุการณ์การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังดำรงอยู่อย่างเข้มข้นและยังดำเนินต่อไปอีกยาวนาน

เข้าใจพวกเขา : เข้าใจ เข้าถึง ..(สาน)เสวนา

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

           นับเป็นจังหวะก้าวสำคัญของแวดวงวิชาการที่เกี่ยวกับความขัดแย้งชายแดนภาคใต้ในกับการพยายามถกเถียงผ่านเวทีเสวนา “ทำความเข้าใจผู้ก่อการชายแดนใต้ : การแปรความขัดแย้งที่รุนแรง” เมื่อวันที่ 28 สิงหาคมที่ผ่านมา โดยย้อนกลับสู่โจทย์ที่ว่าผู้ก่อความไม่สงบที่ชายแดนใต้เป็นใคร? ต้องการอะไร? และมีแรงขับเคลื่อนอย่างไร? ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นคำถามใหญ่โตสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุนแรงในพื้นที่ตลอดมา

สัมภาษณ์พิเศษ “สุณัย ผาสุข” (ตอน 1): ความรับผิดชอบของคู่สงคราม

ที่ปรึกษาฮิวแมนไรท์วอชท์ได้ขยายภาพของความขัดแย้งที่ชายแดนใต้ ด้วยมุมมองของกฎหมายสากลซึ่งนำพาเราให้พยายามเข้าใจสถานการณ์ที่เป็นจริง และข้อจำกัดที่ผู้ใช้ความรุนแรงทุกฝ่ายต้องเผชิญ รวมถึงแนวโน้มของการก่อตัวการต่อสู้ห้ำหั่นใน "หนทางการเมือง" ด้วย

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
Deep South Watch

ไฟใต้ต้นปี 52 และโจทย์หนักหนาของรัฐบาลอภิสิทธิ์

ไชยยงค์ มณีพิลึก

         ถ้าติดตามเหตุการณ์การก่อการร้ายในจังหวัดชายแดนภาคใต้มาโดยตลอด จะพบว่าในห้วงของเดือนมีนาคม-เมษายน ที่ผ่านมา เหตุการณ์การก่อวินาศกรรมโดยการวางระเบิด มีจำนวนลดน้อยลงกว่าในห้วงเดือนมกราคา-กุมภาพันธ์ เหตุผลที่การใช้ระเบิดในการก่อวินาศกรรมสถานที่และลอบโจมตีเจ้าหน้าที่รัฐลดลงน่าจะมาจาก 2 สาเหตุด้วยกัน คือ