Skip to main content
ภาษาไทย
Bahasa Melayu
ค้นหาข่าว
Facebook
Twitter
RSS Feeds
ข่าว
รายงานพิเศษ
สัมภาษณ์พิเศษ
ในทรรศนะ
วารสารศาสตร์สันติภาพ
DSW
Home
/
รายงานพิเศษ
รายงานพิเศษ
โอกาส CSO ปาตานีในกระบวนการสันติภาพ ข้อท้าทายใหญ่หากไม่รวมเป็นหนึ่งเดียว
ดร.นอเบิตร์ โรเปอร์ส ผู้อำนวยการศูนย์ความร่วมมือสันติภาพ (PRC) บรรยายให้หัวข้อโอกาส & ความท้าทายของภาคประชาสังคมในการสนับสนุนกระบวนการสันติภาพ (Opportunities & Challenges of CSOs supporting Peace Processes) ในการสัมมนากับเครือข่ายประชาสังคมนราธิวาส ชี้ประชาสังคมมีหลายหลายหนทางในการหนุนเสริมและมีส่วนในกระบวนการสันติภาพขณะเดียวกันมีข้อท้าทายที่ยิ่งใหญ่รออยู่ข้างหน
“ห้วยกระทิง”ที่นี่ต้องการแรงมือ-แรงใจ สร้างฝายฟื้นชีวิตและความไว้วางใจ เป้าหมายธนาคารโลก
ย้อนรอยจากเหตุเด็กหนุ่มปะทะเจ้าหน้าที่เมื่อ 28 เมษา 47 วันนี้ชาวบ้านห้วยกระทิง จ.ยะลา ร่วมสร้างฝายไม้ไผ่เพื่อฟื้นคืนที่ชีวิตให้คลองและสร้างความไว้วางใจให้กลับคืนมา ภายใต้โครงการ ช.ช.ต. ความเชื่อมั่นไว้ใจกลับคืนมา ผ่านการสนับสนุนของ LDI และธนาคารโลก ที่นี่ยังต้องการแรงคน แรงมือ แรงใจ เพราะงานสร้างคน-สร้างสันติภาพหยุดไม่ได้
สสส.ร่วม มอส.หนุน 58 องค์กรเยาวชนทั้งประเทศสร้างสรรค์นวัตกรรมสู่พลเมืองเข้มแข็ง
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) และเครือข่ายองค์กรที่ทำงานด้านเด็กและเยาวชน 58 องค์กรจัดกิจกรรม “การขับเคลื่อนเสริมพลังองค์กรเด็กและเยาวชนเพื่อสร้างพลเมือง” เข้มแข็งสู่การเสนอนโยบายสาธารณะเด็กและเยาวชนเพื่อเสนอองค์ความรู้การทำงานด้านเด็กและเยาวชน ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะและเพื่อ
สมดุลสันติภาพอยู่ตรงไหน-อะไรคือสายกลาง? ดร.นาซารุดดิน ประธานGMMมาเลเซีย
จุดสมดุลของสันติภาพอยู่ตรงไหน? อะไรคือแนวทางสายกลางเพื่อแก้ไขความแย้ง?
เมื่อการตายของอุสตาซ ทำให้หวนรำลึกคุณูปการอูลามะ “เชคดาวูด อัลฟาฎอนีย์”
เมื่อการตายของ“อุสตาซ”คนหนึ่ง ทำให้หวนรำลึกคุณูปการของ“อูลามะ”คนสำคัญที่มีต่อสังคมปาตานีและโลกมุสลิมอย่าง“เชคดาวูด อัลฟาฎอนีย์” เมื่อ 240 ปีที่แล้ว เหตุใดผลงานจึงหยั่งผลมาถึงปัจจุบัน เพราะการลงหลักปักฐานทางวิชาการที่แข็งแกร่ง หรือเพราะมีสถาบันที่ทำให้ตำรายาวียังมีชีวิต หรือเพราะการก่อเกิดเครือข่ายนักวิชาการและความหวังฟื้นฟูสังคมปาตานีหลังสงคราม ที่ยังคงสร้าง
DSJ Special issue 2016/17 เปิดสถิติทำไม DSJ ต้องเน้นสื่อสารประเด็นสันติภาพ
DSJ Special issue 2016/17 ทำไม DSJ ต้องเน้นสื่อสารประเด็นสันติภาพ เปิดสถิติงานการสื่อสารของโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ปี 2559 เผย 10 ประเด็นเด่นด้านผลงานการสื่อสาร ประเด็นสันติภาพได้อันดับ 1 เพื่อนำเสนอความรู้ใหม่ พื้นที่ใหม่ เครือข่ายใหม่ ขยายสนามสันติภาพ สถิติการสื่อสารของ DSJ ปี 2559
13 เวทีวิชาการเด่นปี 2559 ในการหนุนเสริมสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี
ปี 2559 เป็นอีกปีที่ในพื้นที่ชายแดนใต้/ปาตานี ยังคงเต็มไปด้วยสีสันของเวทีสาธารณะ รวมไปถึงเวทีวิชาการที่ร่วมสร้างสรรค์องค์ความรู้สู่พื้นที่ความขัดแย้งในหลากหลายมิติ มีการนำเสนอ พูดคุยถกเถียงแลกเปลี่ยนไม่ต่างจากปีที่ผ่านมามากนัก แต่มีบางประเด็นที่ในปีนี้มีการพูดถึงมากกว่าปีที่ผ่านมา เช่น ประเด็นพื้นที่ปลอดภัยที่เริ่มมีการพูดถึงในปีที่แล้วและเป็นประเด็นที่เด่นที่สุดประเด็น
10 อันดับ ไดอะบล็อก ในปี 2559 เว็บไซต์ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
พื้นที่ "ไดอะบล็อก" ในเว็บไซต์ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้เปิดให้เป็นเวทีและพื้นที่กลางเพื่อให้เป็นบทสนทนาจากแง่มุมของผู้คนในพื้นที่ชายแดนใต้/ปาตานีผ่านงานของ "บล็อกเกอร์" ที่มีภูมิหลังและความคิดอันหลากหลาย ทั้งที่เป็นงานเขียน คลิปวิดีโอ ภาพถ่าย และสื่อชนิดต่างๆ โดยวางอยู่บนหลักการเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน
“ถ้าอยากได้ Real Peace ต้องสอนให้คนเห็นภัยของสงคราม” CCSPCสถาบันสอนสันติภาพมินดาเนา
Dr.Norodin D.Salam จากวิทยาลัยโปลีเทคนิคโกตาบาโต CCSPC ฟิลิปปินส์ร่วมถ่ายทอดประสบการณ์การศึกษาสันติภาพในมินดาเนาถึงที่ปัตตานี ชี้ถ้าอยากได้ Real Peace ต้องเริ่มจากสอนให้คนเห็นภัยของสงคราม ถ้าเกลียดสงคราม สันติภาพก็ต้องอยู่ในจิตใจด้วย สุดเจ๋งสอนสันติภาพด้วยทักษะวิทยาศาสตร์และภาษาอังกฤษ ใช้เรื่องเล่าเป็นพื้นฐาน มองจากฐานภาคประชาสังคมแต่ไม่ปฏิเสธพรรคการเมือง ย้ำต้องกล้าคิด
ประชาสังคมสร้างสันติภาพ(3)‘DSJ’สื่อสารเพื่อสันติ ถามโต๊ะพูดคุยจะแก้ปัญหารากเหง้าอย่างไร?
ถอดบทบาท 3 องค์กรภาคประชาสังคมร่วมสร้างสันติภาพ“ความรู้ ขับเคลื่อน และสื่อสาร” ผ่านเวทีประชุมวิชาการ“การวิจัยทางสังคมศาสตร์กับการสร้างสันติภาพ”ตอนที่ 3 “DSJ” สื่อทางเลือกที่พยายามเน้นสื่อสารในแนว Peace Journalism ให้เสียงกลุ่มคนหลากหลาย
Pages
1
2
3
4
5
6
7
8
9
…
next ›
last »