Skip to main content

ปรัชญเกียรติ ว่าโร๊ะ

โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSJ)

             

            ่ท่ท

            

ภาพในจอสี่เหลี่ยมของโทรทัศน์ยังคงเคลื่อนไหว สะท้อนภาพสถานการณ์อุทกภัยในภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศไทย ที่กำลังประสบชะตากรรมหนัก จากสึนามิน้ำจืดท่วมหลาก ขณะที่ภาคใต้เริ่มเข้าสู่หน้ามรสุม ฝนตกหนักบ้าง เบาบ้างในหลายพื้นที่ เป็นเค้าลางส่งสัญญาณเตือนให้เตรียมรับมือกับภัยพิบัติอีกครั้ง โดยเฉพาะพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยและโคลนถล่ม

จากข้อมูลพื้นที่เสี่ยงอุทกภัยและโคลนถล่ม ปี 2553 ของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย ระบุพื้นที่เสี่ยงภัยใน ถ จังหวัดภาคใต้ ครอบคลุมเต็มพื้นที่ไปหมด

จึงไม่แปลกที่ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 12 สงขลา ซึ่งรับผิดชอบป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จะเรียกตัวเจ้าหน้าที่ที่ไปปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วม ทั้งที่ภาคกลางและภาคเหนือกลับมาประจำการ ณ ที่ตั้ง ตั้งแต่ช่วงต้นเดือนพฤศจิกายน 2554 เป็นต้นไป

“ตอนนี้ภาคใต้เข้าสู่ฤดูฝนแล้ว ทุกปีภาคใต้เผชิญปัญหาน้ำท่วมอย่างหนัก เราต้องเตรียมวางแผนรับมือสถานการณ์อุทกภัยและภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น” เป็นคำบอกเล่าจากว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี ผู้อำนวยการศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เขต 12 สงขลา

 

ว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี

                                              ว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี 

 

ว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี บอกว่า สำหรับการเตรียมการระยะสั้น ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 12 สงขลา จะเปิดศูนย์เฉพาะกิจเป็นศูนย์อำนวยการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย วาตภัย และดินถล่ม ทำหน้าที่เตรียมความพร้อมและวางแนวทางกำหนดมาตรการต่างๆ ในการช่วยเหลือประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัย ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพ

 

นอกจากนี้ ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 12 สงขลา ยังมีหน้าที่จัดส่งเครื่องจักรกลกู้ภัย ทั้งรถกู้ภัยขนาดใหญ่ กลาง เล็ก รวมถึงเรือท้องแบน เครื่องยนต์เรือ รถบรรทุก และอุปกรณ์จำเป็นในการช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ไปยังจุดเกิดเหตุและออกปฏิบัติการให้ความช่วยเหลือประชาชนใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดสตูล จังหวัดสงขลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาสได้ทันที

พร้อมกันนี้ ยังได้จัดกำลังเจ้าหน้าที่ชุดเผชิญสถานการณ์วิกฤต ( color:black;mso-themecolor:text1">ERT) ติดตามสถานการณ์น้ำในอ่างเก็บน้ำสะเดา อ่างเก็บน้ำคลองหลา และอ่างเก็บน้ำคลองจำไหร ตลอด 24 ชั่วโมง

color:black;mso-themecolor:text1">สำหรับจังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ color:black;mso-themecolor:text1">19 ตุลาคม 2554 mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">นายพิรสิญจ์ พันธุ์เพ็ง รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ได้เป็นประธานการประชุมคณะทำงานศูนย์วิเคราะห์ประเมินสถานการณ์น้ำ และประชาสัมพันธ์แจ้งเตือนภัยอุทกภัย วาตภัย และดินถล่มจังหวัดสงขลา ประจำปี 2554 โดยนายพิรสิญจ์ได้สั่งการให้เร่งติดตามและวิเคราะห์ข่าวสารเกี่ยวกับสภาพอากาศ ปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำในแม่น้ำลำคลอง รายงานผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ในฐานะผู้อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดสงขลา พิจารณาสั่งการให้ความช่วยเหลือประชาชน mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">คณะทำงานฯ ชุดนี้ มีหน้าที่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร และแจ้งเตือนภัยผ่านวิทยุเครื่องแดง ในระดับอำเภอ ท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">ที่ผ่านมาศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 12 สงขลา ได้ "Times New Roman";color:black;background:white">ฝึกอบรมชาวบ้านในหมู่บ้านเสี่ยงภัย หมู่บ้านละ background:white">2 คน ให้ทำหน้าที่แจ้งเตือนภัย และจัดทำแผนที่ชุมชน เกี่ยวกับเส้นทางหนีน้ำหนีดินโคลนถล่ม พร้อมกับจัดเตรียมศูนย์อพยพกรณีฉุกเฉิน โดยชาวบ้านที่ผ่านการอบรม จะต้องทำงานร่วมกับภาคส่วนต่างๆ อย่างใกล้ชิด

color:black;background:white">“ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต "Times New Roman";color:black;background:white">12 สงขลา ได้ประสานกับ "Times New Roman";color:black;mso-themecolor:text1;background:white">ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก สำนักงานชลประทานที่ 16 สงขลา white;font-style:normal">สำนักงานทรัพยากรน้ำ color:black;mso-themecolor:text1;background:white">ภาค color:black;mso-themecolor:text1;background:white">8 "Times New Roman";color:black;mso-themecolor:text1;background:white"> และอีกหลายหน่วยงาน เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลให้เป็นชุดเดียวกัน นำออกเผยแพร่ทางเว็บไซต์ "Times New Roman";color:black;mso-themecolor:text1;background:white">www.hatyaicityclimate.org เพื่อให้ชาวบ้านติดตามข่าวสารสถานการณ์ภัยพิบัติอย่างใกล้ชิด” "Times New Roman";color:black;mso-themecolor:text1;background:white">

ว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี อธิบายวิธีการทำงานป้องกันและรับมือภัยพิบัติของหน่วยงานภาครัฐอย่างละเอียด

color:black;background:white">นอกจากนี้ ว่าที่พันตรีธีระ สันติเมธี ยังบอกอีกว่า กรม mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ได้เปิดวิทยาลัยป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตั้งอยู่หลังศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 12 สงขลา เพื่อรองรับการฝึกอบรมเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติให้กับอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ที่สังกัดอยู่กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ ด้วย

เนื่องเพราะ mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">ในเบื้องต้นทางกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต้องการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นออกมาช่วยเหลือชาวบ้านก่อน จนกว่าจะเกินกำลังความสามารถของท้องถิ่น และมีการประกาศให้ท้องถิ่นนั้นๆ เป็นพื้นที่ภัยพิบัติ ทางศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธาณภัย จึงจะเข้าไปช่วยเหลือ mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">ทั้งนี้ ภัยพิบัติแต่ละครั้งรัฐบาลจะอนุมัติงบประมาณให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นำไปช่วยเหลือผู้ประสบภัยฉุกเฉิน mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">50 ล้านบาท ถึงแม้การใช่จ่ายเงินจำนวนนี้จะอยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด แต่ก็ไม่ทั้งหมด mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">เนื่องเพราะผู้ว่าราชการจังหวัดจะต้องมอบเงินจำนวนนี้ ให้นายอำเภอพื้นที่ประสบภัยพิบัติ นำไปใช้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยอำเภอละ mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">1 ล้านบาทอีกต่างหาก mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">ประเด็นที่น่าสนใจอยู่ตรงที่ว่า เม็ดเงินช่วยเหลือภัยพิบัติฉุกเฉิน ในอุ้งมือผู้ว่าราชการจังหวัด สามารถขยายวงเงินจาก color:black;background:white">50 ล้านบาท เพิ่มสูงขึ้นไปได้อีกโดยไม่มีเพดานจำกัด ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภัยพิบัติที่ประชาชนในจังหวัดนั้นๆ กำลังเผชิญ color:black;background:white">

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">นี่คือ ภาพรวมความพร้อมของภาครัฐ สำหรับการรับมือภัยพิบัติในปี mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">2554 mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:black;background:white">