background:white">นูรยา เก็บบุญเกิด
background:white">โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ( background:white">DSJ)
Calibri;background:white;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;
mso-bidi-language:AR-SA;font-style:normal"> Calibri;background:white;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;
mso-bidi-language:AR-SA;font-style:normal">นายแพทย์พลเดช white;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:
AR-SA"> white;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:
TH"> ปิ่นประทีป
TH">หนึ่งในประเด็นร้อนแรง และมีการพูดถึงกันมากที่สุดในจังหวัดชายแดนใต้ช่วงนี้คือ การออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องให้ยกเลิกการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน "Times New Roman";mso-bidi-language:TH">
TH">จะเห็นได้ว่า ตลอดช่วงเดือนตุลาคม mso-bidi-language:TH">2554 องค์กรต่างๆ เช่น กลุ่มบัณฑิตอาสาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (INSOUTH) ได้จัดกิจกรรมรณรงค์นานารูปแบบ ตั้งแต่จัดแข่งขันฟุตบอล ด้วยการตั้งชื่อทัวร์นาเมนต์ “เตะพ.ร.ก.” Say No Emergency Decree
TH">ช่วงเดียวกัน ก็จัดคาราวานรถโบราณไปตามอำเภอต่างๆ ในจังหวัดปัตตานี ภายใต้ชื่อโครงการ mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-bidi-language:TH">“Classis Rally Say no Emergency Decree”
TH">ไม่เพียงแต่ปัญญาชน หรือบุคคลทั่วไปเท่านั้น ที่ออกมาขับเคลื่อนให้ยกเลิกพระราชกำหนดการบริหารราชการในฉุกเฉิน แต่ยังเยาวชนที่เป็นคณะกรรมการนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จากโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ในจังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดนราธิวาส และจังหวัดสงขลา ออกมาเคลื่อนไหวคัดค้านด้วย mso-bidi-language:TH">
ขณะที่มูลนิธิศูนย์ทนายความมุสลิม TH">ก็ background:white">ออกแถลงการณ์เรียกร้องให้รัฐบาลยกเลิกบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในช่วงเดียวกัน
TH">ส่งผลให้ที่ประชุมสภาประชาสังคมชายแดนใต้ ต้องหยิบยกกรณีการประกาศใช้ background:white;font-weight:normal">พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ white;mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">ฉุกเฉิน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ขึ้นมาพิจารณา ในระหว่างการประชุม background:white;font-weight:normal">สภาประชาสังคมชายแดนใต้ white;mso-bidi-language:TH;font-weight:normal"> ครั้งที่ mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">3/2554 "Times New Roman";mso-bidi-language:TH;font-style:normal"> white;mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-bidi-language:TH;font-style:normal">
เริ่มด้วย background:white;font-style:normal">นายแพทย์พลเดช background:white"> background:white">ปิ่นประทีป background:white;mso-bidi-language:TH"> mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">ที่ปรึกษา background:white;font-weight:normal">สภาประชาสังคมชายแดนใต้ white;mso-bidi-language:TH;font-weight:normal"> เสนอต่อที่ประชุมว่า สภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ควรออกแถลงการณ์แสดงท่าทีต่อการประกาศใช้ TH">พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า มองสถานการณ์นี้อย่างไร แนวโน้มจะเป็นอย่างไร สภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ มีความห่วงใยในประเด็นไหน อยากให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้อย่างไร mso-bidi-language:TH">
font-weight:normal">สำหรับท่าทีสถานการณ์ความไม่สงบ สภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ก็สามารถออกแถลงการณ์ได้เช่นกัน รวมถึงข้อเรียกร้องเรื่องการกระจายอำนาจ mso-bidi-language:TH">
ทั้งสองประเด็นข้างต้น นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป เสนอว่า สภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ควรร่างแถลงการณ์นำเข้าพิจารณาในที่ประชุมครั้งต่อไป เพื่อขอมติที่ประชุมสภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ดำเนินการต่อไป mso-bidi-language:TH">
background:white;mso-bidi-language:TH">ก่อนหน้านี้ background:white">มีการประชุมร่วม TH">ระหว่างสภาประชาสังคมชายแดน background:white;mso-bidi-language:TH">ภาค background:white">ใต้กับเจ้าหน้าที่หน่วยงานความมั่นคงในจังหวัดชายแดนใต้ background:white;mso-bidi-language:TH"> background:white">มีนายประสิทธิ์ เมฆสุวรรณ background:white;mso-bidi-language:TH"> mso-bidi-language:TH">ประธานสภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ background:white">เป็นประธานการประชุม mso-bidi-language:TH">และมีผู้เข้าประชุม background:white;mso-bidi-language:TH">ทั้งจาก background:white">ฝ่ายปกครอง ตำรวจ ทหาร mso-bidi-language:TH">ศูนย์อำนวยการบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาคใต้ background:white">และคณะกรรมการสภาประชาสังคมชายแดนใต้ background:white;mso-bidi-language:TH">เข้าร่วม background:white">กว่า background:white"> 30 คน mso-bidi-language:TH">
mso-bidi-language:TH">ในการประชุมคราวนั้น มีนายทหารจากกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรภาค "Times New Roman";mso-bidi-language:TH"> 4 ชี้แจงกรณีการต่ออายุการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในจังหวัดชายแดนภาคใต้แต่ละครั้งว่า จะมีการสำรวจประเมินผลทุกครั้ง ผลการประเมินออกมาชัดเจนว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ต้องการให้ประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิจ พ.ศ. 2548 และต้องการให้คงกองกำลังทหารไว้ในพื้นที่
TH;font-style:normal">จึงไม่แปลกที่ font-style:normal">นายแพทย์พลเดช TH;font-style:normal"> ปิ่นประทีป จะ mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">ย้ำต่อที่ประชุม white;mso-bidi-language:TH;font-weight:normal">สภาประชาสังคมชายแดนภาคใต้ว่า ข้อมูลที่ได้รับมาจากการประชุมร่วมกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง เห็นได้ชัดเจนว่า ถ้าไม่เห็นด้วยกับการประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. mso-bidi-language:TH">2548 จะต้องหาเหตุผลอะไรมาหักล้าง เรื่องนี้สภาประชาสังคมชายแดนใต้จะต้องคิดให้รอบคอบ mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-bidi-language:TH;font-weight:
normal">
“การออกแถลงการณ์แต่ละครั้ง ควรประกาศจุดยืนให้ชัดเจน และควรออกแถลงการณ์อย่างต่อเนื่อง เพราะเชื่อว่าหากมีแถลงการณ์ฉบับแรกออกไปแล้ว ประชาชนจะต้องเฝ้าดูแถลงการณ์ฉบับต่อไป” mso-bidi-language:TH">
เป็นข้อเสนอต่อที่ประชุมของ background:white;font-style:normal">นายแพทย์พลเดช ปิ่นประทีป เมื่อกลางเดือนพฤศจิกายน background:white;mso-bidi-language:TH">2554 background:white;mso-bidi-language:TH">