Skip to main content
 
กำหนดการ
(อัพเดทล่าสุด 17 สิงหาคม 2557)

 

การประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง

 

การสื่อสาร ความขัดแย้งและกระบวนการสันติภาพ:

ภูมิทัศน์ความรู้จากเอเชียและจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย

 

21-22 สิงหาคม 2557

 

ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
(คณะวิทยาการสื่อสาร
วิทยาลัยอิสลามศึกษา
อาคารคณะรัฐศาสตร์)

 

ร่วมจัดโดย
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch)
 

21 สิงหาคม 2557

สถานที่ :  อาคารวิทยอิสลามนานาชาติ วิทยาลัยอิสลามศึกษา

08.00 – 09.00

ลงทะเบียน

09.00 – 09.20

พิธีเปิด/กล่าวต้อนรับ

โดย รศ.ดร.ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล  อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

09.20 – 10.00

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง  จากระเบิดถึงป้ายผ้า ? การเปลี่ยนยุทธวิธีการต่อสู้ด้วยอาวุธสู่การไม่ใช้อาวุธ

Keynote Address: From Bombs to Banners? Have Rebels Changed from Armed to Unarmed Tactics?

โดย ศาสตราจารย์ ดร. Stein Tønnesson สถาบันวิจัยสันติภาพแห่งกรุงออสโล  ประเทศนอร์เวย์

10.00 – 10.40   

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง  ระหว่างสองทางเลือกอันเป็นหายนะ : การใช้ศักยภาพของสื่อใหม่เพื่อเปลี่ยนผ่านความขัดแย้ง

Keynote Address: Between Scylla and Charybdis: Harnessing the Potential of New Media for Conflict Transformation

โดย Sanjana Yajitha Hattotuwa  ศูนย์ศึกษานโยบายทางเลือก ประเทศศรีลังกา

สถานที่ : อาคารคณะวิทยาการสื่อสาร

10.40 – 11.00

นิทรรศการ

1.     นิทรรศการภาพถ่าย : “บางอย่างที่อยากบอก  - Something to Talk About” โดย เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้ (Deep South Photojournalism Network)

2.     นิทรรศการภาพถ่าย : “เมียนมาร์ในห้วงเปลี่ยนผ่าน - Myanmar in Transition” โดย Kerstin Duell

3.     นิทรรศการความรู้และผลงานโครงการการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและองค์คามรู้จังหวัดชายแดนภาคใต้ (Knowledge for Deep South - K4DS)

พัก/อาหารว่าง

11.00 – 12.30   

ห้อง A301  : ความขัดแย้งทางการเมือง ขบวนการทางสังคม และสันติภาพ

ผู้นำเสนอ  :

Ahmad (Shinwari) Naveed – ‘Hostility’ of Ungoverned Borderland Pakhtunsto Outside World: A Case Study of Pakistan’s Federally Administered Tribal Areas (FATA)

 

Kersin Duell – From Diaspora Activism to Conflict Resolution: Political Exiles and Ethnic Leaders in Burma/Myanmar

 

Onanong Thippimol– The Political Role of Acehnese Ulama and Debates Over Islamic Law in Aceh, 1945 - 1962

 

Wattana Sugunnasil - Democracy and Decentralization: People’s Perception in the North

 

ผู้วิพากษ์ : รศ.ดร.ฉันทนา บรรพศิริโชต หวันแก้ว คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ห้อง A302  : วารสารศาสตร์เพื่อสันติภาพ สื่อมวลชนและสันติภาพ

ผู้นำเสนอ  :

Phansasiri Kularb – Beyond Conventional Professionalism: The Diverse Roles of Thai Journalism in the Southern Conflict

 

Kanuengkwan Nunkaew and Raja Pokharapurkar – Cross Media Ownership and its impact: A Comparative Study of Media Organization in India and Thailand in the Context of Conflict

 

Zakee Phithakkumpol– Re-examining the Past in the Indonesia Present: An Analysis of the Documentary Film ‘The Act of Killing’

 

Aminoh Jehwae and Siti Hajar CheMan – Conflict Resolution in Southern Border Provinces of Thailand in the Novel Promdaen

 

ผู้วิพากษ์ : รศ.ดร.อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์

12.30 – 13.30

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.30 – 15.00

ห้อง A301  : การแก้ปัญหาความขัดแย้งและกระบวนการสันติภาพ

ผู้นำเสนอ  :

Douglas Olthof – Living Together Separately: Nationalism, Decentralization and the Absence of Shared Identity in Thailand’s Southernmost Provinces

 

Pirongrong Ramasoota – Hate Speech in the Media

 

Apichaya O-In – Partnerships of International and Local Actors for the Transformation of Peace Constituencies in the Far South of Thailand

 

Bussabong Chaijaroenwatana – Evaluating the Initiatives of the Insider Peacebuilders Platform in the Context of the Southern Thailand/Pattani Peace Process

 

ผู้วิพากษ์ :

Dr. Norbert Ropers, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ห้อง A302  : ขบวนการทางสังคมและสันติภาพ

 

ผู้นำเสนอ  :

Samak Kosem – Peaceful Subjectivation to Islam?: Conversion and Internal Conflicts of Ethnic Youth in Muslimization Process

 

Akkanut Wantanasombut – Unheard Voices : The Youth’s Movements Toward the Conflict in Thailand’s Southernmost Provinces

 

Ekkarin Tuansiri – Dynamism, Changes and Social Reform of Pattani Society

 

Thanyatorn Saipanya – How to Be Appropriately Beautiful: Understandings and Practices of Muslim Woman Activists’s Dressing in the Deep South of Thailand

 

ผู้วิพากษ์ :

ผศ.ดร.สุชาติ เศรษฐมาลินี มหาวิทยาลัยพายัพ

ห้อง A303  : กระบวนการสันติภาพปาตานี

 

ผู้นำเสนอ  :

Don Pathan and Ekkarin Tuansiri – Negotiating the Future of Patani: Negotiating Peace in the Malay Provinces of Thailand

 

Punpipit Pipitpun – Thailand’s National Security Policies toward the Islamic Unrest in the Deep South: Comparing Thaksin, Surayud and Abhisit Governments

 

Rungrawee Chalermsripinyorat – Thinking Outside the Box? Lesson Learnt from Peace Dialogue in Southern Thailand

 

Srisompob Jitpiromsri and Norbert Ropers – Discourses on Conflict and Peace in Southern Thailand: The Power of Framing Ethnopolitical Relationships

 

ผู้วิพากษ์ :

Prof.Dr.Ponmoni Sahadevan, Jawaharlal Nehru University, India

15.00 – 15.15

พัก/อาหารว่าง

15.15 – 16.45   

เวทีเสวนา เรื่อง ภูมิทัศน์กระบวนการสันติภาพในเอเชีย : ความสำเร็จและสิ่งท้าทาย

 สถานที่ : A103 ชั้น 1   

วิทยากร

Victor Biak Lian, ผู้อำนวยการปฏิบัติการ Euro-Burma Office กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยี่ยม

Raul Torralba, Initiatives for International Dialogue (IID) มินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์

Dr. Kerstin Duell, นักวิจัยและผู้จัดการฝ่ายเมียนมาร์ มูลนิธิ German Konrad-Adenauer

18.30 – 21.30

งานเลี้ยงต้อนรับ ณ  โรงแรมซี เอส ปัตตานี

22 สิงหาคม 2557

สถานที่   :  อาคารวิทยอิสลามนานาชาติ  วิทยาลัยอิสลามศึกษา

08.45 – 09.15   

ลงทะเบียน

09.15 – 10.30   

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง  วารสารศาสตร์สันติภาพเพื่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง

Keynote Address: Peace Journalism as a Contribution to Conflict Resolution

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.  Jake Lynch, ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยความขัดแย้งและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย

สถานที่ : อาคารคณะวิทยาการสื่อสาร

10.30 – 10.45   

นิทรรศการ

1.     นิทรรศการภาพถ่าย : “บางอย่างที่อยากบอก  - Something to Talk About” โดย เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้ (Deep South Photojournalism Network)

2.     นิทรรศการภาพถ่าย : “เมียนมาร์ในห้วงเปลี่ยนผ่าน - Myanmar in Transition” โดย Kerstin Duell

3.     นิทรรศการความรู้และผลงานโครงการการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและองค์คามรู้จังหวัดชายแดนภาคใต้ (Knowledge for Deep South - K4DS)

พัก/อาหารว่าง

10.45 – 12.00   

ห้อง A301  : การแก้ปัญหาความขัดแย้งและกระบวนการสันติภาพ

ผู้นำเสนอ  :

Iulia Padeanu – Face to Face: Assessing the Managed Contact Theory and its Role in Peacebuilding and Reconciliation

 

Ponmoni Sahadevan – How India Makes Peace?

 

Yasmin Sattar – The Lesson Learned from an  Ongoing Turkish-Kurdish Peace Process

 

ผู้วิพากษ์ : รศ.ดร.วัฒนา สุกัณศีล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ห้อง A302  : เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานการณ์ความขัดแย้ง

ผู้นำเสนอ  :

G. Balasubramania Raja and Jone Antony Raja – Social Issues Shared and Discussed in Social Networking Sites by College Youth

                        

Muazzan Binsaleh and Sariya Binsaleh – Mobile Learning Implementation Framework in the Conflict Area of the Four Southernmost Provinces of Thailand

 

ผู้วิพากษ์ :  รศ.ดร.คณิตา นิจจรัลกุล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

12.00 – 13.30   

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.30 – 15.00

เสวนาเรื่อง บนเส้นทางสันติภาพ : ชายแดนใต้/ปาตานีในสถานการณ์ใหม่

Open discussion : On the (Peace) Road Again. Pa(t)tani in New Conditions

สถานที่ : B103 ชั้น 1  คณะวิทยาการสื่อสาร

ผู้ร่วมเสวนา :

ผศ.ดร.บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ

พลตรีนักรบ บุญบัวทอง

ดอน ปาทาน

รุ่งระวี เฉลิมศรีภิญโญรัช

รอมฎอน ปันจอร์

พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ

ผู้ดำเนินรายการ : ฐปณีย์ เอียดศรีไชย

15.00 – 15.15

พัก/อาหารว่าง

15.15 – 16.45   

พิธีปิด/สรุปการประชุม

โดย ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

23 สิงหาคม 2557

09.00 – 15.00

เยี่ยมชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในจังหวัดนราธิวาสและปัตตานี

แนะนำองค์ปาฐก

Professor Dr. Stein Tønnesson
Topic : From Bombs to Banners? Have Rebels Changed from Armed to Unarmed Tactics?
จากระเบิดถึงป้ายผ้า ? การเปลี่ยนยุทธวิธีการต่อสู้ด้วยอาวุธสู่การไม่ใช้อาวุธ
ปาฐกถาพิเศษวันที่  21 สิงหาคม 2557 เวลา 9.20 – 10.00 น.

Professor Dr. Stein Tønnesson เป็นนักวิจัยและนักประวัติศาสตร์ชาวนอร์เวย์ เขาสนใจศึกษาวิจัยด้านความขัดแย้งระหว่างประเทศในเขตทะเลจีนใต้ รวมทั้งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเวียดนามและการสร้างชาติในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงปี 2544 – 2552 เขาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสันติภาพแห่งออสโล (Peace Research Institute Oslo) ประเทศนอร์เวย์ จากนั้น ได้ทำงานในฐานะนักวิจัยอาวุโสกับสถาบันสันติภาพแห่งสหรัฐอเมริกา (United States Institute of Peace) กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เป็นเวลาหนึ่งปี

นับตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน เขาดำรงตำแหน่งหัวหน้าโครงการวิจัยด้านสันติภาพในเอเชียตะวันออก ที่มหาวิทยาลัย Uppsala ประเทศสวีเดน นอกจากนี้ เขายังเป็นรองบรรณาธิการด้านเอเชียของวารสาร Journal of Peace Research และได้รับเชิญเป็นผู้วิเคราะห์สถานการณ์ความขัดแย้งและสันติภาพในสื่อมวลชนระดับสากล

 

Sanjana Hattotuwa
Topic : Between Scylla and Charybdis : Harnessing the Potential of New Media for Conflict Transformation
ระหว่าง Scylla และวังน้ำวน Charybdis : การใช้ศักยภาพของสื่อใหม่เพื่อเปลี่ยนผ่านความขัดแย้ง [1]
ปาฐกถาพิเศษวันที่  21 สิงหาคม 2557 เวลา 10.00 – 10.40 น.

Sanjana Hattotuwa เป็นนักวิจัยอาวุโสและหัวหน้าฝ่ายสื่อของศูนย์ศึกษานโยบายทางเลือก ประเทศศรีลังกา นับตั้งแต่ปี 2549 ถึงปัจจุบัน เขาดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาพิเศษของมูลนิธิเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสันติภาพในเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อีกทั้งยังทำงานขับเคลื่อนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการข้อมูลข่าวสารในภาวะวิกฤติและการรักษาสันติภาพให้กับองค์การสหประชาชาติอีกด้วย

ในปี 2553 เขาเป็นชาวศรีลังกาคนแรกที่ได้รับรางวัลจาก TED Fellowship และรางวัลด้านผู้ประกอบการข่าวสารและความรู้จากมูลนิธิ Ashoka ทั้งสองรางวัลดังกล่าวยืนยันถึงความทุ่มเทของเขาในการเป็นผู้ริเริ่มใช้พลังของสื่อภาคพลเมืองและสื่อใหม่ในการติดตามสถานการณ์ความรุนแรง การสร้างประชาธิปไตยให้เข้มแข็ง ส่งเสริมสิทธิมนุษยชนและสันติภาพ      

Sanjana เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในฐานะเป็นคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านสื่อภาคพลเมืองและสื่อใหม่อย่างแข็งขัน เขายังเป็นผู้มีบทบาทในการออกแบบและใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ รวมทั้งการศึกษาระบบนิเวศของสื่อมวลชนเพื่อสร้างสันติภาพ การลดความขัดแย้งผ่านสื่อออนไลน์ และการแปรเปลี่ยนความขัดแย้งไปสู่สันติภาพ

 

Associate Professor Dr. Jake Lynch
Topic : Peace Journalism as a Contribution to Conflict Resolution
วารสารศาสตร์สันติภาพเพื่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
ปาฐกถาพิเศษวันที่  22 สิงหาคม 2557 เวลา 9.15 – 10.00 น.

Associate Professor Dr. Jake Lynch ปัจจุบันเป็นผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาความขัดแย้งและสันติภาพแห่งมหาวิทยาลัยซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย เขาทุ่มเทเวลากว่าสิบปีเพื่อการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ในสาขาวิชาวารสารศาสตร์เพื่อสันติภาพ (Peace Journalism) รวมทั้งมีประสบการณ์ด้านการรายงานข่าวเพื่อสันติภาพทางสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง

ผลงานทางวิชาการที่นักวิจัย นักวิชาการและนักศึกษาด้านการสื่อสารเพื่อสันติภาพในประเทศไทยรู้จักกันดี เช่น Debates in Peace Journalism (Sydney University Press, 2008); Peace Journalism (with Annabel McGoldrick, Hawthorn Press, Stroud, UK, 2005) และบางบทความใน Handbook of Peace and Conflict Studies (Oxford, 2007)

 

หมายเหตุ:

[1] คำว่า “Between Scylla and Charybdis” เป็นสำนวนที่แปลว่า การเลือกระหว่างทางเลือกสองทางที่แต่ละทางล้วนมีจุดจบที่ไม่พึงปรารถนาหรือเป็นหายนะทั้งคู่ ซิลลา เป็นสัตว์ประหลาดในตำนานแกะทองคำในนิยายกรีกโบราณ โอดิสซีของโฮเมอร์ อาศัยอยู่ในช่องแคบเมสซินา ระหว่างเกาะซิซิลีกับแผ่นดินอิตาลี ในช่องแคบดังกล่าวมีวังน้ำวนขนาดใหญ่ที่ชื่อว่า คาริบดีส กระแสน้ำที่เชี่ยวกราก ทำให้เรือเดินทะเลจำนวนมากประสบหายนะเมื่อผ่านบริเวณนี้ ทั้งอสูรกายอันโหดร้ายและกระแสน้ำวนที่เชี่ยวกรากรุนแรง จึงเป็นที่มาของสำนวนดังกล่าว (ที่มา : Wikipedia)

 

Event date