Skip to main content

 [Updated: 27 กุมภาพันธ์ 2558] 

[For English Click Here]

กำหนดการ

วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 2 

 

สันติ (ที่มองเห็น) ภาพ

Visible/Visionary Peace

 

วันเสาร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558

ณ ห้องประชุมใหญ่ (ห้อง 900) ชั้น 2 คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

 

#vivipeace

 
 

08.00 - 09.00 น.            

ลงทะเบียนรับเอกสารสำคัญ และหนังสือใหม่ว่าด้วยกระบวนการสันติภาพอย่างน้อย 11 เล่ม อาทิ
  • คู่มือกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี: เราจะทำงานร่วมกันได้อย่างไร?
  • การต่อสู้ที่ปาตานีของ ‘วันกาเดร์’
  • พื้นที่กลาง คนใน และสันติภาพ
  • เส้นทางกระบวนการสันติภาพปาตานี
  • เราจะทำให้กระบวนการสันติภาพเดินหน้าต่อไปได้อย่างไร?
  • ทางเลือกกลางไฟใต้: เราจะอยู่ร่วมกันได้อย่างไร?
  • เลือกอนาคต: บทสังเคราะห์การพิจารณาทางเลือกเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในเวทีนโยบายสาธารณะ 'ชายแดนใต้จัดการตนเอง'
  • สื่อสาธารณะกับการสร้างสังคมที่เป็นธรรม
  • พลังธรรมแห่งจินตนาการ
  • ภาคใต้ของประเทศไทย: การนำเข้าร่วมและการใช้เด็กโดยกลุ่มติดอาวุธ
  • ฯลฯ
(ขอสงวนสิทธิ์สำหรับผู้ที่ลงทะเบียนก่อนล่วงหน้า)
ปิดรับลงทะเบียนออนไลน์แล้ว
 

09.00 - 09.10 น.

กล่าวรายงาน โดย ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW) และสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 

09.10 - 09.30 น.            

กล่าวเปิดงาน โดย ผศ. สมปอง ทองผ่อง รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 

09.30 - 10.30 น.            

ดุลยปาฐกว่าด้วย “ภาพ” การพูดคุยสันติภาพรอบใหม่ [Balancing Keynote Speakers on Visible/Visionary of the Peace Dialogue: A New Round]
  • พล.ต.ชินวัฒน์ แม้นเดช ผู้อำนวยการศูนย์สันติสุข กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (ผู้แทนแม่ทัพภาคที่ 4)
  • อาบูฮาฟิซ อัลฮากีม สมาชิกกลุ่มผู้มีความคิดเห็นทางการเมืองที่แตกต่างจากรัฐ
แนะนำองค์ปาฐก โดย ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
 

10.30 - 11.45 น.

วาระสันติภาพจากพื้นที่ (Agenda Damai Dari Rakyat)
การกล่าวแถลงการณ์ของบรรดาเครือข่ายภาคประชาสังคม
  • สภาประชาสังคมชายแดนใต้
  • สถาบันภาษามลายูไทยแลนด์
  • เครือข่ายชาวพุทธเพื่อสันติภาพ (B4P)
  • สมาคมรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสต์ภาคใต้
  • กลุ่มด้วยใจ
  • มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก (มพด.)
  • เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้และเครือข่ายสตรีชายแดนใต้เพื่อสันติภาพ
  • สมาคมผู้หญิงเพื่อสันติภาพ (WePeace)
  • เครือข่ายสาธารณสุขยะรัง
  • สมาคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
  • กลุ่มช่างภาพเพื่อสันติชายแดนใต้ (PPS)
  • กลุ่มเยาวชนความฝันชายแดนใต้ (Dream South)
  • เครือข่ายชุมชนศรัทธา "กัมปงตักวา"
ดำเนินรายการโดย
- ฐปนีย์ เอียดศรีไชย ผู้สื่อข่าว “ข่าวสามมิติ”
- อรพิน ลิลิตวิศิษฎ์วงศ์ โปรดิวเซอร์สำนักเครือข่ายสื่อสาธารณะ
 

11.45 –12.00 น.

ทบทวนบทบาท “ตัวเชื่อมต่อ”: อัฮหมัด สมบูรณ์กับกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี
โดย นายมูฮำมัดอายุบ ปาทาน บรรณาธิการอาวุโส ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
 

12.00 - 13.30 น.            

พักรับประทานอาหารกลางวันและละหมาด
 

13.30 – 13.45 น.           

กล่าวเปิดเสวนาวิสัยทัศน์
‘Peace Comm.’: การศึกษาและพัฒนาสื่อเพื่อสันติภาพ
โดย ผศ.ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 

13.45 - 16.00 น.            

เสวนาวิสัยทัศน์: แนวโน้มการสื่อสารหลากหลายช่องทางกับสันติ (ที่มองเห็น) ภาพ
  • พระอธิการสมชาติ ฐิติปญโญ ตัวแทนจาก “สามเณรชาแนล” ผู้อำนวยการโรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดหนองบัวพิทยา ต.แม่เจดีย์ อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย
  • ยะห์ อาลี ประธานเครือข่ายวิทยุชุมชนจังหวัดปัตตานี
  • ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์ ผู้ประสานงานเครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้ (DSP)
  • อิสมาอีล ฮายีแวจิ*  บรรณาธิการสำนักสื่อวัรตานี (Wartani)
  • ตูแวดานียา มือรีงิง บรรณาธิการสำนักข่าวอามาน (AMAN News) และผู้สื่อข่าวช่อง 3 มาเลเซีย (TV3)
  • อับดุลการีม อัสมะแอ ผู้อำนวยการผลิตสื่ออัสสลามมีเดีย (สื่อสันติภาพ) สถาบันอัสลาม มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
  • สุวัจนา ทิพย์พินิจ ผู้ประสานงานเครือข่ายสื่อพลเมือง องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ThaiPBS)
ดำเนินรายการเสวนา โดย
- รอมฎอน ปันจอร์ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
- สมัชชา นิลปัทม์ คณะวิทยาการสื่อสาร มอ.ปัตตานี
 
ขมวด “ภาพ” กระบวนการสื่อสารและพลังการสื่อสารใหม่
โดย ผศ.ดร.กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มอ.ปัตตานี
 

16.00 -16.30 น.             

กล่าวปิดงานวันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี
โดย ดร.นอร์เบิร์ต โรเปอส์ นักวิจัยอาวุโส สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD)
 
หมายเหตุ:

 

Event date