เอกสาร 28 กุมภาฯ กับเหตุผลที่ “บีอาร์เอ็น” ต้องปรับ
รอมฎอน ปันจอร์
ย้อนกลับไป 4 ปีที่แล้ว วันๆ นี้ (28 กุมภาพันธ์) เป็นวันสำคัญที่เป็นหมุดหมายสำคัญของความขัดแย้งในชายแดนใต้/ปาตานี เพราะเมื่อตัวแทนของรัฐบาลไทย (เลขาธิการ สมช. สมัยนั้น) กับตัวแทนของบีอาร์เอ็นลงนามในเอกสารชิ้นเล็กๆ ขนาดความยาวเพียงสองสามย่อหน้าว่าจะเดินหน้าการพูดคุยสันติภาพ ลายเซ็นของสองคนนั่นและตราประทับหน่วยงานปรากฎขึ้นพร้อมๆ กัน มีการลงนามกำกับโดยเลขาธิการ สมช.มาเลเซียในฐานะประจักษ์พยาน
เรื่องแบบนี้ไม่เคยปรากฎมาก่อน อาจจะมีการพูดคุยสันติภาพอยู่บ้างในทางลับก่อนหน้านี้ แต่แบบแผนของสิ่งที่เกิดขึ้นและที่ตามมาตลอด 4 ปีมานี้ก็แตกต่างอย่างสำคัญ
การจากไปของอุสตาซ สะแปอิง บาซอ : ปรากฏการณ์วีรบุรุษที่รัฐไทยมิอาจปฏิเสธ
อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด
การต่อสู้ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยที่ก่อกำเริบขึ้นมานานนับศตวรรษ ได้ก่อกำเนิดประวัติศาสตร์ลูกใหม่อย่างไม่รู้จักจบสิ้น หนึ่งในนั้นคือการปรากฏของบรรดานักต่อสู้รุ่นแล้วรุ่นเล่า ถึงแม้ในบางยุคบางสมัยสถานการณ์การต่อสู้ของขบวนการปลดปล่อยปาตานี หรือเรียกในอีกภาษาหนึ่งคือ “ขบวนการต่อสู้ภาคประชาชน” ที่ลุกขึ้นมาต่อสู้กับอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรม จนถึงขั้นเอาชีวิตขึ้นมาแลกและความสุขสบายเป็นเดิมพัน
เหตุผลที่บีอาร์เอ็นควรปรับ (อีกเรื่องที่สำคัญ)
รอมฎอน ปันจอร์
เรื่องสำคัญที่ว่าก็คือวิธีที่ความรุนแรงทางการเมืองที่นี้ถูกจับตา เฝ้าดู และมอนิเตอร์จากโลก ซึ่งในสายตาของพวกเขานั้น ขบวนการปลดปล่อยปาตานีที่นำโดยบีอาร์เอ็นขณะนี้อยู่ที่ใด
19 ประเด็นกับความแปรปรวนที่เป็นพิษ: บทวิเคราะห์สถานการณ์ชายแดนใต้ในวันที่สภาวะคงที่กำลังเปลี่ยนไป
รายงานพิเศษ: เหตุเกิดที่เจาะไอร้อง เมื่อโรงพยาบาลกลายเป็นสมรภูมิ
เหตุปะทะระหว่างเจ้าหน้าที่และผู้ก่อความไม่สงบที่โรงพยาบาลเจาะไอร้อง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส ทำให้หลายฝ่ายออกมาประณามการก่อเหตุที่ใช้โรงพยาบาลเป็นฐานในการโจมตี ขณะเดียวกันเหตุการณ์นี้ก็นำไปสู่ข้อเสนอให้ทบทวนการตั้งฐานที่มั่นของทหารในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ประเทศไทย : การปกป้องเด็กจากการถูกนำเข้าร่วมและการใช้เด็กโดยกลุ่มติดอาวุธในภาคใต้
จำเป็นที่จะต้องใช้มาตรการเร่งด่วนในการจัดการกับผลกระทบของความรุนแรงต่อเด็ก เนื่องในโอกาสวันเด็กแห่งชาติ
ลอนดอน, 10 มกราคม 2558
เด็กได้ถูกนำเข้าร่วมและใช้โดยขบวนการแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปัตตานี (บีอาร์เอ็น) และกลุ่มติดอาวุธอื่นๆ ซึ่งปฏิบัติการอยู่ในภาคใต้ของไทย ซึ่งรวมถึงเด็กอายุเพียงแค่ 14 ปี ชายด์ โซวเจอร์ อินเตอร์เนชั่นแนลและมูลนิธิผสานวัฒนธรรมกล่าวในรายงานซึ่งเผยแพร่ในวันนี้
พบป้ายผ้า เรื่องคนอื่นบีบให้คุยได้ แต่เรื่องเรากลับคุยไม่ได้
ขบวนการฯพบสื่อไทย ส่งสัญญาณเดินหน้ากับสันติภาพ
ผ่านไปแล้วอย่างเงียบเชียบ คือเวทีที่สื่อไทยพบกับคนจากกลุ่มต่อต้านรัฐบาลเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึ่งถือว่าเป็นหนแรก
“โจรใต้”
นับตั้งแต่สถานการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถูกคุกคาม คำว่า “โจรใต้” ยังเป็นหนึ่งในคำที่ประดับหน้าแรกหนังสือพิมพ์เกือบทุกวันในหนังสือพิมพ์ทุกฉบับ เราได้ยินคำนี้บ่อยในรายการโทรทัศน์เช่นเดียวกัน แต่การใช้คำนี้ขาดความเหมาะสมอย่างมาก ถึงแม้ว่าคำนี้สามารถดึงดูดควา
มูฮัมหมัดอัณวัร หะยีเต๊ะกับคำพิพากษาว่าเป็น บีอาร์เอ็น
การรณรงค์ของคนกลุ่มเล็กๆกลุ่มหนึ่งกำลังก่อตัวขึ้นในปัตตานี เพื่อแสวงหาอิสรภาพให้กับนักกิจกรรมในพื้นที่ภาคใต้คนหนึ่ง หลังจากที่ศาลฎีกาที่ปัตตานีอ่านคำพิพากษาคดีของนายมะกอรี ดาโอะกับคนอื่นๆอีก 7 คนเมื่อ 1 พค. ที่ผ่านมา ซึ่งหนึ่งในบรรดาจำเลยเหล่านี้ที่ถูกศาลตัดสินรับโทษจำคุกคนละ 12 ปีนั้นปรากฎชื่อของมูฮัมหมัดอัณวัร หะยีเต๊ะหรือที่รู้จักกันในนาม อันวาร์ รวมอยู่ด้วย