Skip to main content

The Politician's Ethics and Approaches in Thailand's National Reform*

 

The Thai political crisis situation at present has abated to a certain extend, and there have been considerations on national rehabilitation and recovery by various means of national reform, in economic, social, and political terms from all sectors of the society.  The author deem that another important issue is the reform of politicians themselves in term of the politician's morality and ethics.  Historically, the behaviors and conducts of some politicians, inside and outside the parliament, have been reflected in the negative light, causing a great loss of faith of the people towards politicians and political institutions.

The word "chariya-tham" ("ethics") was defined, according to the Royal Institute Dictionary of B.E. 2542 (1999 A.D.), as the teachings that are the code of conduct, morals, rules of morality, and defined the word "khunnadhamma" ("morality" as the state of goodness, while the word "nak karn meuang" ("politicians") was defined as individuals with political aspirations, those who perform politcal functions e.g. ministers, members of parliament, etc.  In summary, the politician's ethics refer to the rules or good practice, or proper behaviors of those who perform political functions.

The application of ethics as a guide for Thai civil servants or politicians was stated in the Constitution of the Kingdom of Thailand B.E. 2550 (2007 A.D.) in CHAPTER XIII on Ethics of Persons Holding Political Positions and State Officials in Section 279 and Section 280, which stated (in summary) that there was an established Code of Ethics of person holding political position and state official.  Violation by a government official or state official is deemed to be in breach of disipline.  In the case of violation by a person holding political position, the Ombudsmen shall report to the National Counter Corruption Commission (NCCC) and it is deemed the cause for removal from office by the votes of the senate. 

The Office of the Prime Minister then issued the Regulation of the Office of the Prime Minister on the Code of Ethics for Holders of Public Office B.E. 2551 (2008 A.D.), which took effect from 24 August 2008 onwards, and nullified the Regulation of the Office of the Prime Minister on Ethical Standards and Ethics of Holders of Public Office B.E. 2543 (2000 A.D.).  This Regulation established ethical standards for holders of public offices in 2 chapters, with 23 items in total, i.e. from item no.7 to item no.29, when important points were considered, for example: 

-             ต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์และเป็นแบบอย่างที่ดีในการเคารพและรักษาระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

-             ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการรักษาไว้และปฏิบัติตามซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกประการ

-             ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการเป็นพลเมืองดีการเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอย่างเคร่งครัด

-             ต้องปฏิบัติตนอยู่ในกรอบจริยธรรม คุณธรรมและศีลธรรมทั้งโดยส่วนตัวและโดยหน้าที่ความรับผิดชอบต่อสาธารณชน ทั้งต้องวางตนให้เป็นที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชน

-             ต้องเคารพสิทธิ เสรีภาพส่วนบุคคลของผู้อื่นไม่แสดงกิริยาหรือใช้วาจาอันไม่สุภาพ อาฆาตมาดร้าย หรือใส่ร้ายหรือเสียดสีบุคคลใด

-             ต้องรักษาความลับของราชการ เว้นแต่เป็นการปฏิบัติตามอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย

-             พึงพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนอย่างสม่ำเสมอ เอาใจใส่ทุกข์สุขและรับฟังเรื่องราวร้องทุกข์ของประชาชนและรีบหาทางช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ

-             ต้องไม่ใช้หรือบิดเบือนข้อมูลข่าวสารของราชการเพื่อให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเพื่อประโยชน์สำหรับตนเองหรือผู้อื่น

-             ต้องรักษาทรัพย์สินของราชการและใช้ทรัพย์สินของราชการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์นั้นๆ เท่านั้น

-             ต้องแสดงความรับผิดชอบตามควรแก่กรณีเมื่อปฏิบัติหน้าที่บกพร่องหรือปฏิบัติหน้าที่ผิดพลาดอย่างร้ายแรง เป็นต้น 

                  ดังนั้น มาตรฐานจริยธรรมของข้าราชการการเมืองที่สำนักนายกรัฐมนตรีได้ออกมาบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2551 นั้นถือว่าเป็นหลักที่ข้าราชการการเมือง นักการเมืองต้องปฏิบัติตามระเบียบที่ได้บัญญัติไว้  แต่หากว่านักการเมืองบางส่วนทั้งการอภิปรายในสภาและการดำเนินกิจกรรมทางการเมืองนอกสภาได้มีการประพฤติปฏิบัติตัวตรงกันข้ามกับมาตรฐานทางจริยธรรมที่ได้กำหนดไว้ทำให้เกิดความเสื่อมเสียต่อระบบรัฐสภาและบั่นทอนความเชื่อมั่นศรัทธาของประชาชนในประเทศ

                 ถ้านักการเมืองปฏิบัติได้ตามหลักเกณฑ์ที่ได้วางไว้นี้ย่อมส่งผลดีต่อการบริหารประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับหลักธรรมาภิบาลและการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี สามารถยกระดับมาตรฐานทางจริยธรรมของนักการเมืองให้ดีขึ้นและเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชนทั้งประเทศ และเป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การปฏิรูปประเทศไทยต่อไป



 

* บุญยิ่ง ประทุม, [email protected]