siswa cinta damai
ภาพ จาก http://in.reuters.com
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
จาร์กาต้า เครื่อข่ายผู้สื่อข่าว : ทางด้านของนายบันคีมูน เลขาธิสหประชาชาติ ได้แสดงความยินดีต่อข้อตกลงร่วมมือกันต่อข้อตกลงเพื่อยุติความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์ กับพวกต่อสู้ชาวมุสลิมเอ็มไอแอลเอ็ฟ (MILF) และต่อข้อตกลงสันติภาพร่วมกันก่อนหน้านี้ระหว่างผู้นำรัฐบาลกับกลุ่มกบฏเอ็มเอ็นแอลเอฟ MNLF (Moro National Liberation Front) ที่รวมถึงข้อตกลงหยุดยิงในปี ค.ศ.1999 ครั้งที่แล้ว ข้อตกลงร่วมกันในครั้งนี้จะเป็นการยุติของการต่อสู้ที่ยืดเยื้อนานนับทศวรรษที่ได้คร่าชีวิตผู้คนไม่ต่ำกว่า 150,000 คน
major-bidi;mso-bidi-theme-font:major-bidi">
ในขณะเดียวกัน ทางสหประชาชาติก็พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือหากมีความประสงค์ การร่วมมือในครั้งนี้เป็นการเห็นพ้องต้องกันในการกำหนดรูปแบบการปกครองตนเองแบบกึ่งพิเศษ (otonomi)แห่งใหม่ บริเวณพื้นที่ที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ในเขตจังหวัดมินดาเนาทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ สำหรับสมาชิกแนวร่วมมุสลิมโมโรเพื่อการปลดปล่อยตัวเอง 12,000 คน ได้อ้างว่าพวกเขามีกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนแห่งนี้
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
ทางบันคีมูน ยังได้ให้การยกย่องท่านเบนิกโน อากวิโน (Benigno Aquino) ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ต่อวิสัยทัศน์และความกล้าหาญในการตัดสินใจของเขาในครั้งนี้
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
ทางเลขาธิการสหประชาชาติได้กล่าวอีกว่า เขาอยากเห็นความสงบสุขและความสมบูรณ์พร้อมของผู้ปกครองที่มีต่อประชาชนฟิลิปปินส์ โดยเฉาะอย่างยิ่งสำหรับประชาชนที่อยู่ในเขตปกครองกึ่งพิเศษแห่งใหม่นี้ที่เรียกว่าชาวโมโร (Bangsa Moro)
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
มินดาเนาถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์และมากล้นไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติของผืนดิน แต่ทว่าในช่วงของทศวรรษที่ผ่านมานั้นได้เผชิญกับเหตุการณ์ความรุนแรงและการต่อสู้ที่ยึดเยื้อ จนนำไปสู่การเป็นจังหวัดหนึ่งที่ประชากรมีสถานะความเป็นอยู่อย่างอยากจนของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งการต่อสู้ได้เริ่มต้นเมื่อปี ค.ศ.1978 นั้น ได้ส่งผลให้มีพลเรือนได้บาดเจ็บล้มตายถึง 150,000 คน
mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:major-bidi">
นอกจากท่านบันคีมูนแล้ว ทางรัฐบาลอินโดนีเซียเองก็มีความยินดีอย่างสุดซึ้งที่ท่านประธานาธิบดีของฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม ค.ศง 2012 ที่ได้กล่าวว่า ได้บรรลุในข้อตกลงร่วมกันในการแสวงหาสันติภาพ ระหว่างทางฝ่ายรัฐบาลฟิลิปปินส์กับกลุ่มแนวร่วมมุสลิมโมโรเพื่อการปลดปล่อยตัวเองหรือ Moro Islamic Liberation Front (MILF).
major-bidi;mso-hansi-font-family:"Angsana New";mso-hansi-theme-font:major-bidi;
mso-bidi-font-family:"Cordia New";mso-bidi-theme-font:minor-bidi">
“ครั้งนี้ถือว่าเป็นการสะท้อนถึงความจริงใจของรัฐบาลฟิลิปปินส์ในความพยายามเพื่อแสวงหาสันติภาพทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์ที่ยึดเยื้อมาอย่างยาวนาน เพื่อจุดมุ่งหมายดังกล่าวทางรัฐบาลอินโดนีเซียมีความยินดีและพร้อมที่จะให้การสนับสนุนรวมไปถึงประสบการณ์อีกด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้กล่าวทิ้งท้าย
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
ตลอดระยะเวลาเกือบ 20 ปีที่ผ่านมา ที่ทางการอินโดนีเซียได้เข้าไปมีบทบาทในฐานะผู้ไกล่เกลี่ยระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์กับแนวร่วมมุสลิมโมโรเพื่อการปลดปล่อยตัวเองหรือ Moro Islamic Liberation Front (MILF).ในฐานะองค์กรอิสลามที่ทำงาน ร่วมกัน (Organisasi Kerjasama Islam/OKI.)
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-theme-font:
major-bidi">
แปลภาษาไทย จากเครือข่ายนักข่าว และหนังสือพิมพ์ จาการต้า อินโดนีเซีย 9/10/2012