Skip to main content
 
หมายเหตุ: สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ หรือ CSCD จัดทำสำรวจความคิดเห็นของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Deep South Poll) เมื่อช่วงวันที่ 9 – 11 มิถุนายนที่ผ่านมา หรือก่อนหน้าวันนัดพูดคุยที่มาเลเซียระหว่างคณะผู้แทนฝ่ายทางการไทยและตัวแทนขบวนการปลดปล่อยปาตานีในวันที่ 13 มิถุนายน เพียงเล็กน้อย โดยมีผู้ตอบแบบสอบถาม 2,006 ราย จากในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
 
แม้สาระสำคัญบางประการได้รับการเผยแพร่ไปบ้างแล้ว แต่กองบรรณาธิการเห็นว่าเนื้อหาสาระโดยละเอียดของการศึกษาครั้งนี้สำคัญต่อกระบวนการสันติภาพโดยรวม โดยเฉพาะประเด็นข้อเรียกร้องต่างๆ ที่ผู้ตอบแบบสอบถามถ่วงน้ำหนัก ซึ่งรวมถึงข้อเรียกร้องที่เกี่ยวข้องกับการลดความรุนแรงจากทุกฝ่าย ซึ่งมีคะแนนอยู่ในลำดับต้นๆ
 
            ในเบื้องต้นมีการสำรวจความคิดเห็นดังกล่าวมีข้อสรุปดังต่อไปนี้
 
1. ความเชื่อมั่นว่าการดำเนินการพูดคุยเพื่อสันติภาพจะทำให้เกิดสันติภาพจริงๆ ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 5.80 จากคะแนนเต็ม 10 ซึ่งอยู่ในระดับกลางๆ ค่อนไปทางบวก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาครั้งแรกในการศึกษาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2556 (คลิกดูรายละเอียด ที่นี่) ในครั้งนั้นคะแนนการยอมรับอยู่ในระดับ 5.16 ดังนั้น เราจึงพบว่าประชาชนมีแนวโน้มคะแนนการยอมรับกระบวนการสันติภาพในครั้งนี้สูงขึ้น โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 76.6 ให้คะแนนยอมรับความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไป เมื่อเทียบการศึกษาในครั้งแรกมีจำนวนผู้ยอมรับกระบวนการสันติภาพร้อยละ 67.17 ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า การสนับสนุนและยอมรับต่อกระบวนการสันติภาพของประชาชนมีจำนวนสูงขึ้นในการสำรวจครั้งนี้
 
2. ข้อเรียกร้องจากทุกฝ่ายรวมทั้งข้อเรียกร้อง 5 ข้อจากบีอาร์เอ็นได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่เมื่อเทียบระดับคะแนน ข้อเรียกร้องแบ่งออกเป็นสามกลุ่มตามระดับ คือ กลุ่มที่ได้คะแนนการยอมรับสูงมากเป็นข้อเรียกร้องจากประชาชนเรื่องการร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบ การหลีกเลี่ยงความรุนแรงต่อเป้าหมายที่เป็นผู้บริสุทธิ์ การลดความรุนแรงจากทุกฝ่าย เป็นต้น ส่วนกลุ่มที่สูงในระดับที่สองคือข้อเรียกร้องเรื่องบทบาทภาคประชาสังคมในการพูดคุยสันติภาพ การเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพ การยกเลิก พรก ฉุกเฉิน และการปกครองแบบพิเศษ เป็นต้น ส่วนข้อเรียกร้องในระดับที่สามส่วนใหญ่คือข้อเรียกร้องของบีอาร์เอ็น คือการลงประชามติเรื่องอนาคตปัตตานี ยะลา และนราธิวาส การให้มีประเทศอาเซียน โอไอซีและเอ็นจีโอเป็นสักขีพยานในการเจรจา และการยกเลิกบัญชีดำที่หมายตัวผู้กระทำผิด เป็นต้น ข้อเรียกร้องทั้งสามกลุ่มได้รับการยอมรับจากประชาชนผู้ตอบทั้งหมดแต่มีระดับความรู้สึกความเชื่อมั่นสูงต่ำแตกต่างกันไป
 
3. ข้อเรียกร้องของบีอาร์เอ็นได้รับคะแนนการยอมรับจากประชาชน ประชาชนรับได้ในระดับที่พอสมควร แต่ก็ควรพิจารณาด้วยว่าระดับน้ำหนักไม่ใช่อยู่ในกลุ่มระดับคะแนนที่สูงที่สุดเมื่อเทียบกับข้อเรียกร้องของประชาชนเรื่องอื่นๆ จึงควรได้รับการพิจารณาโดยร่วมกับข้อเสนออื่นๆของภาคประชาชน
 
4. น่าสังเกตว่าข้อเสนอของบีอาร์เอ็นที่มีคะแนนยอมรับค่อนข้างสูงมากกว่าข้อเสนออื่น 5 ข้อคือ ต้องการเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพ มีระดับความเห็นยอมรับเฉลี่ยอยู่ที่ 6.94 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70.8 อีกข้อก็คือต้องให้รัฐบาลมาเลเซียมีบทบาทเป็นตัวกลางผู้ไกล่เกลี่ยแทนที่จะเป็นแค่ผู้อำนวยความสะดวกในการพูดคุยเจรจา มีระดับความเห็นเฉลี่ยที่ 6.11
 
            เนื้อหาข้างล่างนี้คือรายงานฉบับสมบูรณ์
 
 
การศึกษาทัศนคติของประชาชนจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อเหตุการณ์ปัจจุบันท่ามกลางกระบวนการสันติภาพ
 
ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี 
ผู้อำนวยการสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) และผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW)
ดร.วารุณี ณ นคร
อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มอ.ปัตตานี
อ.ดุษณ์ดาว เลิศพิพัฒน์
อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มอ.ปัตตานี
อ.เชาวน์เลิศ ล้อมลิ้ม
อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มอ.ปัตตานี
อ.อิทธิชัย สีดำ
อาจารย์นักวิจัยสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) มอ.ปัตตานี
 
                   การศึกษาครั้งนี้ทำการสุ่มตัวอย่างโดยวิธีวิธีการสุ่มปกติ (sampling methods) แบบผสมสองแนวทาง คือใช้หลักทางสถิติความน่าจะเป็นและไม่ใช้หลักสถิติความน่าจะเป็น การใช้หลักความน่าจะเป็นในทางสถิติ เพื่อประกันว่าทุกคนทุกหน่วยในประชากรที่ศึกษามีโอกาสเท่ากันในการถูกเลือก (the same probability of selection) ความน่าเชื่อถือของความเป็นตัวแทน (representation) ของกลุ่มตัวอย่างจะทำให้ผลการสำรวจ มีความคลาดเคลื่อนทางสถิติในระดับที่ยอมรับได้
 
ขั้นตอนที่ใช้ Probability sampling
 
การสุ่มระดับตำบล จะทำการสุ่มแบบ Systematic Sampling จากตำบลทั้งหมดที่มีอยู่ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อำเภอของจังหวัดสงขลา เพื่อให้ได้ตำบลจำนวน 187 ตำบล
 
การสุ่มระดับหมู่บ้านจะทำการสุ่มแบบ Systematic Sampling จากหมู่บ้านที่มีในตำบลที่ถูกสุ่ม ทั้งสิ้น 1,448 หมู่บ้านเพื่อให้ได้หมู่บ้านจำนวน 496 หมู่บ้าน
 
ขั้นตอนที่ใช้ Non-Probability sampling เนื่องจากเวลาในการทำวิจัยมีความจำกัดและมีความเสี่ยงอันตรายในการเก็บข้อมูลในบริบทความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้จึงต้องมีการปรับในขั้นตอนการสุ่มเลือกภายในหมู่บ้านเป้าหมายที่ถูกเลือกไว้แล้ว
 
การสุ่มประชาชนกลุ่มตัวอย่างในแต่ละหมู่บ้าน จะทำการสุ่มทั้งแบบ Purposive Samplingและ Accidental Sampling โดยการสุ่มแบบ Purposive samplingจะประกอบไปด้วย ผู้ชาย 2 คนและผู้หญิง 2 คน ส่วนการสุ่มแบบ Accidental sampling จะสุ่มจากประชาชนที่มีภูมิลำเนาอยู่ในหมู่บ้านนั้นๆ เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างหมู่บ้านละ 4 คน รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดประมาณ 2,006 ตัวอย่าง
 
color:#376092;">เพศ
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
หญิง
color:#376092;">1009
color:#376092;">50.3
color:#376092;">50.3
color:#376092;">50.3
 
ชาย
color:#376092;">997
color:#376092;">49.7
color:#376092;">49.7
color:#376092;">100.0
 
Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
color:#376092;">100.0
 
 
 
จากแบบสอบถามทั้งหมด ผู้ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงจำนวน 1,009 คน คิดเป็นร้อยละ 50.3เป็นเพศชายจำนวน 997 คน คิดเป็นร้อยละ 49.7ซึ่งอายุเฉลี่ยของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ที่ 39-40 ปี
 
ศาสนา
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">อิสลาม
color:#376092;">1650
color:#376092;">82.3
color:#376092;">82.7
color:#376092;">82.7
 
color:#376092;">พุทธ
color:#376092;">345
color:#376092;">17.2
color:#376092;">17.3
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">1995
color:#376092;">99.5
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">11
color:#376092;">.5
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามนับถือศาสนาอิสลามจำนวน 1,650คน คิดเป็นร้อยละ 82.3 นับถือศาสนาพุทธจำนวน  345คน คิดเป็นร้อยละ 17.2
 
 
color:#376092;">ภูมิลำเนาเดิม
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">ปัตตานี
color:#376092;">563
color:#376092;">28.1
color:#376092;">28.1
color:#376092;">28.1
 
color:#376092;">ยะลา
color:#376092;">476
color:#376092;">23.7
color:#376092;">23.8
color:#376092;">51.9
 
color:#376092;">นราธิวาส
color:#376092;">686
color:#376092;">34.2
color:#376092;">34.3
color:#376092;">86.2
 
color:#376092;">สงขลา
color:#376092;">270
color:#376092;">13.5
color:#376092;">13.5
color:#376092;">99.7
 
color:#376092;">อื่นๆระบุ
color:#376092;">7
color:#376092;">.3
color:#376092;">.3
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2002
color:#376092;">99.8
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">4
color:#376092;">.2
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่จังหวัดปัตตานี จำนวน 563 คน คิดเป็นร้อยละ 28.1กลุ่มที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่จังหวัดยะลา จำนวน 476 คน คิดเป็นร้อยละ 23.7ส่วนกลุ่มที่ภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่จังหวัดนราธิวาสจำนวน 686คน คิดเป็นร้อยละ 34.2และกลุ่มที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่จังหวัดสงขลา จำนวน 270คิดเป็นร้อยละ 13.5
 
ส่วนกลุ่มที่มีภูมิลำเนาเดิมอยู่นอกพื้นที่  4 จังหวัดชายแดนภาคใต้จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3ซึ่งภูมิลำเนาเดิมมาจากกรุงเทพมหานคร จังหวัดชุมพรจังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดสตูล และจังหวัดศรีสะเกษ
 
 
color:#376092;">จังหวัดที่อาศัย
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
 
 
 
 
 
 
color:#376092;">นราธิวาส
color:#376092;">710
color:#376092;">35.4
color:#376092;">35.4
color:#376092;">25.5
 
color:#376092;">ปัตตานี
color:#376092;">640
color:#376092;">31.9
color:#376092;">31.9
color:#376092;">59.1
 
color:#376092;">ยะลา
color:#376092;">392
color:#376092;">19.5
color:#376092;">19.5
color:#376092;">82.5
 
color:#376092;">สงขลา
color:#376092;">264
color:#376092;">13.2
color:#376092;">13.2
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
color:#376092;">100.0
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่อาศัยอยู่ที่จังหวัดปัตตานี จำนวน640 คน คิดเป็นร้อยละ 31.9 กลุ่มที่มีอาศัยอยู่ที่จังหวัดยะลา จำนวน 392 คน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ส่วนกลุ่มที่อาศัยอยู่ที่จังหวัดนราธิวาสจำนวน 710คน คิดเป็นร้อยละ 35.4 และกลุ่มที่อาศัยอยู่ที่จังหวัดสงขลา จำนวน 264 คิดเป็นร้อยละ 13.2
 
 
color:#376092;">ท่านพูดภาษาใดเป็นประจำในครัวเรือน
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">ไทย
color:#376092;">438
color:#376092;">21.8
color:#376092;">21.9
color:#376092;">21.9
 
color:#376092;">มลายูถิ่น
color:#376092;">1125
color:#376092;">56.1
color:#376092;">56.2
color:#376092;">78.1
 
color:#376092;">มลายูและไทย
color:#376092;">437
color:#376092;">21.8
color:#376092;">21.8
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">อื่นๆระบุ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2001
color:#376092;">99.8
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">5
color:#376092;">.2
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
ทักษะการใช้ภาษา
 
 
color:#376092;">N
color:#376092;">Sum
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">ไทยกลาง(ราชการ) อ่านได้/เขียนได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">1477
color:#376092;">.74
color:#376092;">.441
color:#376092;">มาลายู(ยาวี) พูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">797
color:#376092;">.40
color:#376092;">.496
color:#376092;">มาลายูถิ่น(ยาวี) อ่านได้/เขียนได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">724
color:#376092;">.36
color:#376092;">.480
color:#376092;">อาหรับอ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">694
color:#376092;">.35
color:#376092;">.476
color:#376092;">มาลายู(ยาวี) ฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">374
color:#376092;">.19
color:#376092;">.390
color:#376092;">มาเลย์กลางฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">371
color:#376092;">.19
color:#376092;">.388
color:#376092;">ไทยกลาง(ราชการ) ฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">259
color:#376092;">.13
color:#376092;">.335
color:#376092;">มาเลย์กลางพูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">218
color:#376092;">.11
color:#376092;">.321
color:#376092;">ไทยกลาง(ราชการ) พูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">179
color:#376092;">.09
color:#376092;">.285
color:#376092;">มาเลย์กลางอ่านได้/เขียนได้
color:#376092;">2004
color:#376092;">174
color:#376092;">.09
color:#376092;">.282
color:#376092;">มาเลย์กลางอ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">159
color:#376092;">.08
color:#376092;">.270
color:#376092;">อังกฤษอ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">129
color:#376092;">.06
color:#376092;">.245
color:#376092;">อังกฤษฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">113
color:#376092;">.06
color:#376092;">.231
color:#376092;">อาหรับฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">91
color:#376092;">.05
color:#376092;">.208
color:#376092;">ภาษาอังกฤษพูด/อ่าน/เขียนได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">86
color:#376092;">.04
color:#376092;">.203
color:#376092;">มาลายูถิ่น(ยาวี) อ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">83
color:#376092;">.04
color:#376092;">.199
color:#376092;">จีนฟังได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">74
color:#376092;">.04
color:#376092;">.189
color:#376092;">อาหรับอ่านได้/เขียนได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">72
color:#376092;">.04
color:#376092;">.186
color:#376092;">ไทยกลาง(ราชการ) อ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">53
color:#376092;">.03
color:#376092;">.160
color:#376092;">อังกฤษพูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">20
color:#376092;">.01
color:#376092;">.099
color:#376092;">อาหรับพูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">16
color:#376092;">.01
color:#376092;">.089
color:#376092;">จีนอ่านได้/เขียนได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">6
color:#376092;">.00
color:#376092;">.055
color:#376092;">จีนอ่านได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">6
color:#376092;">.00
color:#376092;">.055
color:#376092;">จีนพูดได้
color:#376092;">2005
color:#376092;">3
color:#376092;">.00
color:#376092;">.039
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">2004
 
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาประจำที่ใช้ในครัวเรือนมีจำนวน 438 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 21.8 ครัวเรือนที่ใช้ ภาษามลายูถิ่นเป็นภาษาที่ใช้ในครัวเรือน มีจำนวน 1,125 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 56.1ครัวเรือนที่ใช้ทั้งภาษามลายูและภาษาไทยร่วมกันมีจำนวน 437 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 21.8 ส่วนครัวเรือนที่ใช้ภาษาอื่นซึ่งคือภาษาท้องถิ่นใต้ จำนวน  1 ครัวเรือน
 
ผู้ตอบส่วนใหญ่ใช้ภาษามลายูในชีวิตประจำวัน ร้อยละ 56.1รองลงมาคือพูดทั้งภาษามลายูและไทย และส่วนที่พูดแต่เฉพาะภาษาไทย ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 21.8 เท่ากันทั้งสองกลุ่ม เป็นการสะท้อนภาพทางวัฒนธรรมของพื้นที่ซึ่งมีความเข้มข้นด้วยวัฒนธรรมมลายูดังเป็นที่ทราบโดยทั่วไป อย่างไรก็ดีเมื่อดูที่ทักษะในการใช้ภาษาจริงๆซึ่งเทียบระดับการอ่านพูดและเขียนภาษา เราพบว่าผู้ตอบมีทักษะการใช้ภาษาไทยในระดับสูง มีผู้ที่ตอบว่าใช้ภาษาไทยได้ทั้งอ่านได้และเขียนได้ถึงร้อยละ 74ส่วนผู้ที่ตอบว่าใช้ภาษามลายูถิ่น (ยาวี) ทั้งอ่านได้และเขียนได้ ร้อยละ 36ใช้ภาษาอาหรับได้โดยการอ่าน ร้อยละ 35และใช้ภาษามลายูถิ่นได้ในแง่ภาษาพูด ร้อยละ 40 แสดงว่า แม้จะใช้ภาษามลายูในชีวิตประจำวันเป็นส่วนมาก แต่ผู้ตอบจำนวนค่อนข้างสูงที่มีความสามารถในการใช้ภาษาไทยในระดับทักษะที่สูงทั้งอ่านและเขียน ทั้งหมดนี้สะท้อนให้เห็นว่า สังคมจังหวัดชายแดนใต้มีลักษณะความหลากหลายทางวัฒนธรรมและมีการปรับตัวอย่างค่อนข้างมากด้วยเช่นกัน
 
 
สถานภาพการสมรส
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">สมรส
color:#376092;">1455
color:#376092;">72.5
color:#376092;">72.6
color:#376092;">72.6
 
color:#376092;">โสด
color:#376092;">406
color:#376092;">20.2
color:#376092;">20.3
color:#376092;">92.9
 
color:#376092;">หม้าย
color:#376092;">95
color:#376092;">4.7
color:#376092;">4.7
color:#376092;">97.6
 
color:#376092;">หย่าร้าง
color:#376092;">40
color:#376092;">2.0
color:#376092;">2.0
color:#376092;">99.6
 
color:#376092;">แยกกันอยู่
color:#376092;">8
color:#376092;">.4
color:#376092;">.4
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2004
color:#376092;">99.9
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">2
color:#376092;">.1
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่สมรสแล้ว จำนวน 1,455 คน คิดเป็นร้อยละ 72.5กลุ่มที่ยังโสด จำนวน 406 คน คิดเป็นร้อยละ 20.2กลุ่มที่เป็นหม้ายมีจำนวน 95คน คิดเป็นร้อยละ 4.7กลุ่มที่หย่าร้าง จำนวน 40 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ส่วนกลุ่มที่แยกกันอยู่มีจำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 0.4ส่วนที่ไม่ตอบมีจำนวน 2คน คิดเป็นร้อยละ 0.1 จำนวนเฉลี่ยของสมาชิกในครัวเรือนจะเท่ากับ 5-6 คน
 
 
color:#376092;">ระดับการศึกษาสูงสุดสายสามัญ
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">ไม่ได้ศึกษา
color:#376092;">190
color:#376092;">9.5
color:#376092;">9.5
color:#376092;">9.5
 
color:#376092;">ประถม
color:#376092;">539
color:#376092;">26.9
color:#376092;">26.9
color:#376092;">36.4
 
color:#376092;">ม.ต้น
color:#376092;">296
color:#376092;">14.8
color:#376092;">14.8
color:#376092;">51.1
 
color:#376092;">ม.ปลาย
color:#376092;">501
color:#376092;">25.0
color:#376092;">25.0
color:#376092;">76.1
 
color:#376092;">อาชีวะศึกษา(ปวช./ปวส.)
color:#376092;">264
color:#376092;">13.2
color:#376092;">13.2
color:#376092;">89.3
 
color:#376092;">ป.ตรี
color:#376092;">212
color:#376092;">10.6
color:#376092;">10.6
color:#376092;">99.9
 
color:#376092;">ป.โท
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">ป.เอก
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2004
color:#376092;">99.9
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">2
color:#376092;">.1
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาสูงสุด อยู่ในกลุ่มที่จบการศึกษาในระดับประถมศึกษามีจำนวน 539 คน คิดเป็นร้อยละ 26.9อันดับสอง คือ กลุ่มที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีจำนวน 501 คน คิดเป็นร้อยละ 25.0อันดับสาม คือ กลุ่มที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 296 คิดเป็นร้อยละ 14.8   อันดับสี่ คือ กลุ่มที่จบการศึกษาในระดับอาชีวะ(ปวช./ปวส.) จำนวน 264 คน คิดเป็นร้อยละ 13.2อันดับห้า  คือ กลุ่มที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี จำนวน 212 คน คิดเป็นร้อยละ 10.6 ส่วนกลุ่มที่ไม่ได้ศึกษา จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 9.5
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี สาขา รัฐศาสตร์เป็นอันดับหนึ่ง จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ  0.9 รองลงมา คือสาขาการบัญชี จำนวน  17 คน  ร้อยละ  0.8 อันดับสามคือสาขาการจัดการจำนวน  10 คน คิดเป็นร้อยละ  0.5 อันดับสี่ คือ สาขาการจัดการทั่วไป, สาขาบริหารธุรกิจ จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 0.4  อันดับห้า คือ สาขาการตลาด จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ 0.4
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีจำนวนส่วนใหญ่จบจากมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 รองลงมาเป็นอันดับสอง คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 อันดับสาม คือ มหาวิทยาลัยรามคำแหง จำนวน 18 คน คิดเป็นอัตราร้อยละ 0.9 อันดับสี่ คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 อันดับห้าคือ มหาวิทยาลัยทักษิณ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีการศึกษาสูงสุดในสายศาสนา คือ กลุ่มที่มีการศึกษาสายศาสนาระดับต้นมีจำนวน 444 คน คิดเป็นร้อยละ 25.3 อันดับสองคือ กลุ่มที่มีการศึกษาสายศาสนาระดับกลางมีจำนวน 388 คน คิดเป็นร้อยละ19.3 อันดับสามคือ  กลุ่มที่มีการศึกษาในสายศาสนาระดับปลายมีจำนวน 174 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.9อันดับที่สี่ คือกลุ่มที่มีการศึกษาในระดับปอเนาะ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 1.1 อันดับที่ห้า คือ กลุ่มที่มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี จำนวน 10 คิดเป็นร้อยละ 0.6 อันดับที่หก คือ กลุ่มที่มีการศึกษาในระดับปริญญาโท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.1 ส่วนกลุ่มที่ไม่ได้ศึกษาสายศาสนามีจำนวน 765 คน คิดเป็นร้อยละ 43.7
 
 
อาชีพหลัก(ตอบได้เพียงข้อเดียว)
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">เกษตร
color:#376092;">763
color:#376092;">38.0
color:#376092;">38.1
color:#376092;">38.1
 
color:#376092;">ปศุสัตว์
color:#376092;">45
color:#376092;">2.2
color:#376092;">2.2
color:#376092;">40.3
 
color:#376092;">ประมง
color:#376092;">33
color:#376092;">1.6
color:#376092;">1.6
color:#376092;">42.0
 
color:#376092;">รับราชการ
color:#376092;">78
color:#376092;">3.9
color:#376092;">3.9
color:#376092;">45.9
 
color:#376092;">พนง.เอกชน
color:#376092;">128
color:#376092;">6.4
color:#376092;">6.4
color:#376092;">52.2
 
color:#376092;">รับจ้าง
color:#376092;">170
color:#376092;">8.5
color:#376092;">8.5
color:#376092;">60.7
 
color:#376092;">แรงงาน
color:#376092;">19
color:#376092;">.9
color:#376092;">.9
color:#376092;">61.7
 
color:#376092;">ช่างฝีมือ
color:#376092;">58
color:#376092;">2.9
color:#376092;">2.9
color:#376092;">64.6
 
color:#376092;">บริการ
color:#376092;">38
color:#376092;">1.9
color:#376092;">1.9
color:#376092;">66.5
 
color:#376092;">ขายสินค้าบริโภค
color:#376092;">200
color:#376092;">10.0
color:#376092;">10.0
color:#376092;">76.4
 
color:#376092;">ขายเครื่องอุปโภค
color:#376092;">37
color:#376092;">1.8
color:#376092;">1.8
color:#376092;">78.3
 
color:#376092;">ธุรกิจขนาดย่อม
color:#376092;">29
color:#376092;">1.4
color:#376092;">1.4
color:#376092;">79.7
 
color:#376092;">ครู/อาจารย์
color:#376092;">54
color:#376092;">2.7
color:#376092;">2.7
color:#376092;">82.4
 
color:#376092;">พ่อบ้าน/แม่บ้าน
color:#376092;">150
color:#376092;">7.5
color:#376092;">7.5
color:#376092;">89.9
 
color:#376092;">เกษียณอายุ
color:#376092;">7
color:#376092;">.3
color:#376092;">.3
color:#376092;">90.3
 
color:#376092;">นักเรียน/นักศึกษา
color:#376092;">72
color:#376092;">3.6
color:#376092;">3.6
color:#376092;">93.9
 
color:#376092;">ทำงานร้านอาหาร
color:#376092;">12
color:#376092;">.6
color:#376092;">.6
color:#376092;">94.5
 
color:#376092;">พนักงานขับรถ
color:#376092;">3
color:#376092;">.1
color:#376092;">.1
color:#376092;">94.6
 
color:#376092;">รับซื้อยางพารา
color:#376092;">26
color:#376092;">1.3
color:#376092;">1.3
color:#376092;">95.9
 
color:#376092;">หมอนวด
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">96.0
 
color:#376092;">มีบ้านเช่า/หอพัก
color:#376092;">5
color:#376092;">.2
color:#376092;">.2
color:#376092;">96.2
 
color:#376092;">ตกงาน
color:#376092;">32
color:#376092;">1.6
color:#376092;">1.6
color:#376092;">97.8
 
color:#376092;">ไม่มีอาชีพ/ชรา
color:#376092;">13
color:#376092;">.6
color:#376092;">.6
color:#376092;">98.5
 
color:#376092;">อื่นๆ
color:#376092;">31
color:#376092;">1.5
color:#376092;">1.5
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2004
color:#376092;">99.9
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">System
color:#376092;">1
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
 
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2
color:#376092;">.1
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีอาชีพหลักเป็นเกษตรกรมีจำนวนมากเป็นอันดับหนึ่ง คือ 763 คน คิดเป็นร้อยละ 38.1 รองลงมาอันดับสองคือผู้ที่มีอาชีพขายสินค้าบริโภคมีจำนวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0 อันดับสาม คือผู้ที่มีอาชีพรับจ้างมีจำนวน  170 คิดเป็นร้อยละ 8.5อันดับสี่คือผู้ที่มีอาชีพพ่อบ้าน/แม่บ้านมีจำนวน 150คน คิดเป็นร้อยละ 7.5อันดับที่ห้าคือผู้ที่มีอาชีพพนักงานเอกชนมีจำนวน 128 คิดเป็นร้อยละ 6.4 ผู้ที่มีอาชีพรับราชการมีจำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 3.9 ผู้ที่มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษามีจำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 3.6 ผู้ที่มีอาชีพช่างฝีมือมีจำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9 ผู้ที่มีอาชีพครู/อาจารย์จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 2.7 ผู้ที่มีอาชีพปศุสัตว์มีจำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ผู้ที่มีอาชีพบริการมีจำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 1.9ผู้ที่มีอาชีพขายเครื่องอุปโภคมีจำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 ผู้ที่มีอาชีพประมงมีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 1.6 ผู้ที่ตกงานมีจำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 1.6 ผู้ที่มีอาชีพอื่นๆมีจำนวน 31 คน คิดเป็นร้อยละ  1.5 ผู้ที่มีอาชีพธุรกิจขนาดย่อมมีจำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 1.4 ผู้ที่มีอาชีพรับซื้อยางพารามีจำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3ผู้ที่มีอาชีพแรงงานมีจำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 ผู้ที่ไม่มีอาชีพ/ชรามีจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6ผู้ที่มีอาชีพทำร้านอาหารมีจำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 0.6 ผู้ที่เกษียณอายุมีจำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ผู้ที่มีอาชีพเปิดบ้านเช่า/หอพักมีจำรวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 0.2 ผู้ที่มีอาชีพพนักงานขับรถมีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.1 และผู้ที่มีอาชีพหมอนวดมีจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.1
 
 
color:#376092;">อาชีพหลัก
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
 
color:#376092;">1777
color:#376092;">88.6
color:#376092;">88.6
color:#376092;">88.6
 
color:#376092;">99
color:#376092;">199
color:#376092;">9.9
color:#376092;">9.9
color:#376092;">98.5
 
color:#376092;">ขับมอเตอร์ไซค์รับจ้าง
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.6
 
color:#376092;">ขายน้ำมัน
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.6
 
color:#376092;">ข้าราชการบำนาญ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.7
 
color:#376092;">ค้าขาย
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.7
 
color:#376092;">เจ้าหน้าที่อนามัย
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.8
 
color:#376092;">ทำข้าวเกรียบ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.8
 
color:#376092;">ทำพลาสติกรีไซเคิล
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">98.9
 
color:#376092;">ธุรกิจส่วนตัว
color:#376092;">2
color:#376092;">.1
color:#376092;">.1
color:#376092;">99.0
 
color:#376092;">บัณทิตอาสา
color:#376092;">4
color:#376092;">.2
color:#376092;">.2
color:#376092;">99.2
 
color:#376092;">เป็นแรงงานไทยในมาเลย์
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.2
 
color:#376092;">ผลิตขนมจีน
color:#376092;">ผลิตน้ำตาลแว่น
color:#376092;">1
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.3
color:#376092;">99.3
 
color:#376092;">พนักงานราชการ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.4
 
color:#376092;">รับจ้าง
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.4
 
color:#376092;">รับจ้างทั่วไป
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.5
 
color:#376092;">รับทำขนมจีน
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.5
 
color:#376092;">ร้านค้า
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.6
 
color:#376092;">ลุกจ้างชั่วคราว
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.6
 
color:#376092;">ลูกจ้างของรัฐ
color:#376092;">4
color:#376092;">.2
color:#376092;">.2
color:#376092;">99.8
 
color:#376092;">ลูกจ้างโครงการ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.9
 
color:#376092;">ลูกจ้างในหน่วยงานของรัฐ
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">99.9
 
color:#376092;">ลูกจ้างโรงพยาบาล
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">ว่างงาน
color:#376092;">1
color:#376092;">.0
color:#376092;">.0
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
color:#376092;">100.0
 
 
ไม่ได้ดำรงตำแหน่งใดๆ
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">ไม่ตอบ
color:#376092;">482
color:#376092;">24.0
color:#376092;">24.1
color:#376092;">24.1
 
color:#376092;">ตอบ
color:#376092;">1522
color:#376092;">75.9
color:#376092;">75.9
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2004
color:#376092;">99.9
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">2
color:#376092;">.1
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
การดำรงตำแหน่งต่างๆ ในชุมชน
 
 
color:#376092;">N
color:#376092;">Sum
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">ไม่ได้ดำรงตำแหน่งใดๆ
color:#376092;">2004
color:#376092;">1522
color:#376092;">.76
color:#376092;">.428
color:#376092;">อสม.สาธารณสุข
color:#376092;">2004
color:#376092;">129
color:#376092;">.06
color:#376092;">.245
color:#376092;">ชรบ.
color:#376092;">2003
color:#376092;">108
color:#376092;">.05
color:#376092;">.226
color:#376092;">กรรมการชุมชน/หมู่บ้าน
color:#376092;">2004
color:#376092;">104
color:#376092;">.05
color:#376092;">.222
color:#376092;">กรรมการมัสยิด
color:#376092;">2004
color:#376092;">54
color:#376092;">.03
color:#376092;">.162
color:#376092;">กำนัน/ผู้ใหญ่บ้าน/ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
color:#376092;">2004
color:#376092;">46
color:#376092;">.02
color:#376092;">.150
color:#376092;">อส.
color:#376092;">2004
color:#376092;">21
color:#376092;">.01
color:#376092;">.235
color:#376092;">บัณฑิตอาสากระทรวงต่างๆ
color:#376092;">2004
color:#376092;">19
color:#376092;">.01
color:#376092;">.097
color:#376092;">สมาชิกสภาอบต./เทศบาล/อบจ.
color:#376092;">2004
color:#376092;">19
color:#376092;">.01
color:#376092;">.097
color:#376092;">อปพร.
color:#376092;">2005
color:#376092;">17
color:#376092;">.01
color:#376092;">.092
color:#376092;">อรบ.
color:#376092;">2003
color:#376092;">16
color:#376092;">.01
color:#376092;">.089
color:#376092;">กรรมการวัด
color:#376092;">2004
color:#376092;">8
color:#376092;">.00
color:#376092;">.063
color:#376092;">เทศมนตรี/ผู้บริหารอบจ./อบต.
color:#376092;">2003
color:#376092;">5
color:#376092;">.00
color:#376092;">.050
color:#376092;">นายกอบต./นายกเทศมนตรี/นายกอบจ.
color:#376092;">2004
color:#376092;">2
color:#376092;">.00
color:#376092;">.032
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">2001
 
 
 
 
 
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่ได้ดำรงตำแหน่งทางสังคม จำนวน1522คิดเป็นร้อยละ  76.0ส่วนผู้ที่ดำรงตำแหน่งทางสังคมที่มีสัดส่วนสูงสุด คือ ดำรงตำแหน่งอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 6.4  รองลงมาคือ ชุดรักษาความปลอดภัยประจำหมู่บ้าน จำนวน 108 คน  คิดเป็นร้อยละ  5.3  อันดับสาม คือ กรรมการชุมชน/กรรมการหมู่บ้าน จำนวน 104 คน คิดเป็นร้อยละ  5.1 อันดับสี่ คือ กำนันผู้ใหญ่บ้าน จำนวน  54 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9  อันดับห้า คือ กรรมการมัสยิด จำนวน  46 คน คิดเป็นร้อยละ  2.29
 
 
color:#376092;">ปัญหาสำคัญที่สุดที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านของท่าน
 
 
color:#376092;">N
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">ปัญหายาเสพติด
color:#376092;">2004
color:#376092;">.63
color:#376092;">.482
color:#376092;">ปัญหาการว่างงาน
color:#376092;">2004
color:#376092;">.43
color:#376092;">.496
color:#376092;">ปัญหาเหตุการณ์ความไม่สงบ
color:#376092;">2004
color:#376092;">.28
color:#376092;">.447
color:#376092;">ปัญหาความยากจน
color:#376092;">2003
color:#376092;">.25
color:#376092;">.431
color:#376092;">ปัญหาความขัดแย้งส่วนตัว/ระหว่างกลุ่มในชุมชน
color:#376092;">2004
color:#376092;">.13
color:#376092;">.332
color:#376092;">ปัญหาไม่มีที่ดินทำกิน
color:#376092;">2004
color:#376092;">.11
color:#376092;">.312
color:#376092;">ปัญหาความไม่เป็นธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ
color:#376092;">2004
color:#376092;">.11
color:#376092;">.310
color:#376092;">ปัญหาเกิดจากผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น
color:#376092;">2003
color:#376092;">.05
color:#376092;">.228
color:#376092;">ปัญหาอาชญากรรมเช่นปล้นจี้ลักขโมย
color:#376092;">2004
color:#376092;">.04
color:#376092;">.195
color:#376092;">ปัญหาคอรัปชั่นของผู้นำชุมชน/ข้าราชการท้องถิ่น
color:#376092;">2004
color:#376092;">.03
color:#376092;">.159
color:#376092;">ปัญหาศีลธรรมเสื่อม
color:#376092;">2003
color:#376092;">.02
color:#376092;">.150
color:#376092;">ปัญหากลุ่มอิทธิพลอำนาจมืดการใช้อำนาจเถื่อนการค้าของเถื่อนน้ำมันเถื่อน
color:#376092;">2004
color:#376092;">.01
color:#376092;">.099
color:#376092;">ปัญหาการติดเชื้อเอดส์
color:#376092;">2003
color:#376092;">.01
color:#376092;">.083
color:#376092;">ปัญหาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
color:#376092;">2004
color:#376092;">.00
color:#376092;">.063
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">2000
 
 
 
 
ปัญหาที่สำคัญที่สุดในชุมชน
 
ผู้ตอบระบุปัญหาที่สำคัญที่สุดในชุมชน หลายปัญหา โดยลำดับความสำคัญคือปัญหายาเสพติดสำคัญมากที่สุดเป็นลำดับแรก ร้อยละ 63 ลำดับที่สองคือปัญหาการว่างงาน ร้อยละ 43 ปัญหาสำคัญลำดับที่สามคือปัญหาเหตุการณ์ความไม่สงบ ร้อยละ 28 ปัญหาความยากจนถูกจัดเป็นลำดับที่สี่ ร้อยละ 25 ส่วนปัญหาสำคัญในลำดับที่ห้าคือ ปัญหาความขัดแย้งส่วนตัวหรือระหว่างกลุ่มในชุมชน ร้อยละ 13
 
ปัญหาการไม่มีที่ดินทำกินและปัญหาความไม่เป็นธรรมของเจ้าหน้าที่รัฐร้อยละ 11 นอกจากนั้นก็มีการพูดถึงปัญหาอื่นๆ เช่น ผู้มีอิทธิพลในท้องถิ่น ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น แต่ที่สำคัญที่สุดสามลำดับแรก น่าจะเป็นปัญหาที่ชุมชนให้ความสำคัญมากที่สุดและน่าจะมีอิทธิพลมากที่สุดยังคงเป็นยาเสพติด การว่างงานและปัญหาความไม่สงบ
 
ปัญหาเรื่องการก่อความไม่สงบ
 
เมื่อกล่าวเฉพาะปัญหาการก่อความไม่สงบในภาคใต้ ผู้ตอบร้อยละ 32.6 กล่าวว่าในหมู่บ้าน หรือชุมชนของตนเองเคยเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ ซึ่งนับได้ว่าค่อนข้างอยู่ในระดับปานกลางเมื่อพิจารณาจากกลุ่มตัวอย่างที่กระจายไปกว่า 50 อำเภอและ 187 ตำบลในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และเมื่อถามถึงประสบการณ์ส่วนตัวเกี่ยวกับเหตุการณ์ความไม่สงบ พบว่า ร้อยละ 32.6 ในกลุ่มบอกว่าเคยมีประสบการณ์กับเหตุการณ์ความไม่สงบ ปรากฏว่าคนที่มีเพื่อนหรือคนรู้จักเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บหรือหายตัวไปมีจำนวนสูงถึง ร้อยละ 70.0 ของผู้ที่ประสบเหตุการณ์ความไม่สงบข้อมูลที่น่าสนใจก็คือมีสมาชิกในครัวเรือนหรือญาติสนิทเสียชีวิตจากเหตุการณ์ประมาณ ร้อยละ 10.0 เคยอยู่ในเหตุการณ์ยิงปะทะต่อสู้ในเหตุความไม่สงบ ร้อยละ 6.7 และเคยอยู่ในเหตุการณ์ปราบปรามปิดล้อมตรวจค้นร้อยละ 6.4 สะท้อนให้เห็นว่าความรุนแรงกระจายไปทั่วพื้นที่และมีผลกระทบไม่น้อยต่อคนในสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
 
ในหมู่บ้านเคยเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบ
 
 
color:#376092;">Frequency
color:#376092;">Percent
color:#376092;">Valid Percent
color:#376092;">Cumulative Percent
color:#376092;">Valid
color:#376092;">ไม่เคยเกิด
color:#376092;">1327
color:#376092;">66.2
color:#376092;">67.0
color:#376092;">67.0
color:#376092;">เคยเกิด
color:#376092;">653
color:#376092;">32.6
color:#376092;">33.0
color:#376092;">100.0
color:#376092;">Total
color:#376092;">1980
color:#376092;">98.7
color:#376092;">100.0
 
color:#376092;">Missing
color:#376092;">99
color:#376092;">26
color:#376092;">1.3
 
 
color:#376092;">Total
color:#376092;">2006
color:#376092;">100.0
 
 
 
ท่านผ่านประสบการณ์สถานการณ์ความไม่สงบในภาคใต้ในลักษณะใดบ้าง  
 
 
color:#376092;">N
color:#376092;">Sum
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับความรุนแรงโดยตรง
color:#376092;">2000
color:#376092;">1498
color:#376092;">.75
color:#376092;">.434
color:#376092;">มีเพื่อนหรือคนรู้จักเสียชีวิตหรือได้รับบาดเจ็บหรือหายตัวไป
color:#376092;">2000
color:#376092;">461
color:#376092;">.23
color:#376092;">.421
color:#376092;">สมาชิกในครัวเรือนหรือญาติสนิทเสียชีวิต
color:#376092;">2000
color:#376092;">68
color:#376092;">.03
color:#376092;">.181
color:#376092;">เคยอยู่ในเหตุการณ์ยิงปะทะต่อสู้ในเหตุความไม่สงบ
color:#376092;">1999
color:#376092;">44
color:#376092;">.02
color:#376092;">.147
color:#376092;">เคยอยู่ในเหตุการณ์ปราบปรามปิดล้อมตรวจค้น
color:#376092;">2000
color:#376092;">42
color:#376092;">.02
color:#376092;">.143
color:#376092;">สมาชิกในครัวเรือนหรือญาติสนิทถูกจับหรือถูกเชิญตัวไปสอบสวน
color:#376092;">2000
color:#376092;">27
color:#376092;">.01
color:#376092;">.115
color:#376092;">ได้รับการข่มขู่จากฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด
color:#376092;">2000
color:#376092;">10
color:#376092;">.01
color:#376092;">.071
color:#376092;">เคยได้รับบาดเจ็บจากเหตุความไม่สงบ
color:#376092;">2000
color:#376092;">6
color:#376092;">.00
color:#376092;">.055
color:#376092;">สมาชิกในครัวเรือนหรือญาติสนิทหายตัวไปโดยไม่ทราบสาเหตุ
color:#376092;">2000
color:#376092;">5
color:#376092;">.00
color:#376092;">.050
color:#376092;">ได้ทราบว่าในครัวเรือนตนเองมีชื่อในบัญชีดำผู้ต้องสงสัย
color:#376092;">2000
color:#376092;">5
color:#376092;">.00
color:#376092;">.050
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">1999
 
 
 
 
 
ข้อที่ 17 ความเชื่อมั่นว่าการดำเนินการพูดคุยเพื่อสันติภาพจะทำให้เกิดสันติภาพจริงๆซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.80 ซึ่งอยู่ในระดับกลางๆ ค่อนไปทางบวก แต่เมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาครั้งแรกในการศึกษาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2556 ในครั้งนั้นคะแนนการยอมรับอยู่ในระดับ 5.16 ดังนั้นจึงมีคะแนนการยอมรับกระบวนการสันติภาพในครั้งนี้สูงขึ้น โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 76.6 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไป เมื่อเทียบการศึกษาในครั้งแรกมีจำนวนผู้ยอมรับกระบวนการสันติภาพร้อยละ 67.17 ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า การสนับสนุนและยอมรับต่อกระบวนการสันติภาพของประชาชนมีจำนวนสูงขึ้นในการสำรวจครั้งนี้  และมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 53.6 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนนขึ้นไป
 
 
ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อข้อเสนอในการพูดคุยสันติภาพที่กำลังดำเนินการอยู่
           
 
color:#376092;">N
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">ต้องมีการแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกัน
color:#376092;">2004
color:#376092;">8.23
color:#376092;">2.007
color:#376092;">มีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง
color:#376092;">2003
color:#376092;">7.82
color:#376092;">2.094
color:#376092;">การหลีกเลี่ยงการก่อเหตุความรุนแรงหรือปฏิบัติกรกับเป้าหมายที่เป็นผู้บริสุทธิ์
color:#376092;">2000
color:#376092;">7.73
color:#376092;">1.915
color:#376092;">ต้องมีการลดความรุนแรงจากทุกฝ่าย
color:#376092;">2004
color:#376092;">7.52
color:#376092;">2.096
color:#376092;">การอยู่ร่วมกันระหว่างคนต่างศาสนาและวัฒนธรรม
color:#376092;">2002
color:#376092;">7.42
color:#376092;">2.164
color:#376092;">การนำผู้กระทำความผิดในทุกกรณีมาลงโทษ
color:#376092;">2003
color:#376092;">7.38
color:#376092;">2.187
color:#376092;">ต้องมีการสร้างความไว้ใจและความเชื่อมั่นระหว่างกันก่อน
color:#376092;">2003
color:#376092;">7.19
color:#376092;">2.826
color:#376092;">ต้องเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพ
color:#376092;">2006
color:#376092;">6.94
color:#376092;">2.155
color:#376092;">การยอมรับบทบาทของภาคประชาสังคมในการพูดคุยหรือเจรจาสันติภาพ
color:#376092;">2005
color:#376092;">6.93
color:#376092;">2.132
color:#376092;">ต้องมีการยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉิน
color:#376092;">2006
color:#376092;">6.69
color:#376092;">2.903
color:#376092;">ต้องการถอนทหารออกจากพื้นที่
color:#376092;">2006
color:#376092;">6.62
color:#376092;">3.634
color:#376092;">การยอมรับประวัติศาสตร์และอัตลักษณ์ชาวมลายูปาตานี
color:#376092;">2006
color:#376092;">6.57
color:#376092;">2.428
color:#376092;">การประกาศใช้เขตปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษในปัตตานียะลาและนราธิวาส
color:#376092;">2002
color:#376092;">6.55
color:#376092;">2.731
color:#376092;">ต้องให้รัฐบาลมาเลเซียมีบทบาทเป็นตัวกลางผู้ไกล่เกลี่ยแทนที่จะเป็นแค่ผู้อำนวยความสะดวกในการพูดคุยเจรจา
color:#376092;">2003
color:#376092;">6.11
color:#376092;">2.216
color:#376092;">การลงประชามติเรืองอนาคตปัตตานียะลาและนราธิวาส
color:#376092;">2003
color:#376092;">5.99
color:#376092;">2.624
color:#376092;">ต้องให้มีพยานจากชาติอาเซียน, OIC, หรือเอ็นจีโอองค์กรอิสระต่างๆ
color:#376092;">2003
color:#376092;">5.90
color:#376092;">2.323
color:#376092;">การยกเลิกบัญชีดำที่หมายตัวผู้กระทำผิด
color:#376092;">2005
color:#376092;">5.82
color:#376092;">2.971
color:#376092;">ต้องตระหนักถึงการดำรงอยู่และอำนาจของประชาชาติมลายูปาตานี
color:#376092;">2004
color:#376092;">5.75
color:#376092;">2.436
color:#376092;">การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการ
color:#376092;">2003
color:#376092;">5.57
color:#376092;">2.762
color:#376092;">ปล่อยนักโทษคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับทั้งหมด
color:#376092;">2004
color:#376092;">5.47
color:#376092;">2.792
color:#376092;">การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการ
color:#376092;">ปล่อยนักโทษคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับทั้งหมด
color:#376092;">2003
color:#376092;">2004
color:#376092;">5.57
color:#376092;">5.47
color:#376092;">2.762
color:#376092;">2.792
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">1982
 
 
 
 
ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อข้อเสนอจากการพูดคุยสันติภาพ ที่กำลังดำเนินการอยู่นั้น จะแยกกลุ่มลำดับคะแนน ออกเป็น สามกลุ่ม กลุ่มที่ 1 คือ ระดับคะแนนที่สูงกว่า 7 คะแนน กลุ่มที่ 2 ระดับคะแนนที่ สูงกว่า 6 คะแนน แต่ไม่เกิน 7 คะแนน และกลุ่มที่ 3 ระดับคะแนน ที่สูงกว่า 5 คะแนน แต่ไม่เกิน 6 คะแนนรายละเอียด ดังนี้
 
color:#376092;">กลุ่มที่ 1 ระดับคะแนนที่สูงกว่า 7 คะแนน
 
กลุ่มข้อเรียกร้องที่คะแนนสูงที่สุดคือการแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกัน การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบความรุนแรง การหลีกเลี่ยงปฏิบัติการกับผู้บริสุทธิ์และการลดความรุนแรง
 
ลำดับที่ 1 ต้องการให้มีการแก้ปัญหายาเสพติดร่วมกัน ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 8.23โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 2 มีการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 7.82 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 61 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 3 การหลีกเลี่ยงการก่อเหตุความรุนแรงหรือปฏิบัติกรกับเป้าหมายที่เป็นผู้บริสุทธิ์ ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 7.73 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 71.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 56.1 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 4 ต้องมีการลดความรุนแรงจากทุกฝ่าย ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 7.52 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 65.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 54.6 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 5 การอยู่ร่วมกันระหว่างคนต่างศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 7.42 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 64.3 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 52.2 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 6 การนำผู้กระทำความผิดในทุกกรณีมาลงโทษซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่7.38 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 63 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 51.9 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 8 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 7 ต้องมีการสร้างความไว้ใจและความเชื่อมั่นระหว่างกันก่อนซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่7.19 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 59.4 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
color:#376092;">กลุ่มที่ 2 ระดับคะแนนที่สูงกว่า 6 คะแนน แต่ไม่เกิน 7 คะแนน
 
กลุ่มคะแนนข้อเรียกร้องค่อนข้างสูงอยู่ในระดับปานกลาง คือ ข้อเรียกร้องเรื่องบทบาทภาคประชาสังคม การเปลี่ยนการพูดคุยให้เป็นการเจรจาสันติภาพ การยกเลิก พรก.ฉุกเฉิน
 
ลำดับที่ 8 ต้องเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.94 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 9 การยอมรับบทบาทของภาคประชาสังคมในการพูดคุยหรือเจรจาสันติภาพซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.93 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70.1 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่10 ต้องมีการยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่ 6.69 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 66.3 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 11 ต้องการถอนทหารออกจากพื้นที่ซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.62 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 63.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 52.6 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 12 การยอมรับประวัติศาสตร์และอัตลักษณ์ชาวมลายูปาตานีซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.57 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 62.9 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 13 การประกาศใช้เขตปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษในปัตตานียะลาและนราธิวาสซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.55 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 65.1 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 52.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 14 ต้องให้รัฐบาลมาเลเซียมีบทบาทเป็นตัวกลางผู้ไกล่เกลี่ยแทนที่จะเป็นแค่ผู้อำนวยความสะดวกในการพูดคุยเจรจาซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.11 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 57.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
color:#376092;">กลุ่มที่ 3 ระดับคะแนน ที่สูงกว่า 5 คะแนน แต่ไม่เกิน 6 คะแนน
 
กลุ่มที่เป็นข้อเรียกร้องที่ได้รับการยอมรับจากประชาชนสูงในลำดับที่สาม คือ การลงประชามติเรื่องอนาคตปัตตานียะลาและนราธิวาสการเป็นสักขีพยานของชาติที่สาม และการยกเลิกบัญชีดำที่หมายตัวผู้กระทำผิดเป็นต้น
 
ลำดับที่ 15 การลงประชามติเรื่องอนาคตปัตตานียะลาและนราธิวาสซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.99 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 16 ต้องให้มีพยานจากชาติอาเซียน, OIC, หรือเอ็นจีโอองค์กรอิสระต่างๆซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.90 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 79 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 49.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 17 การยกเลิกบัญชีดำที่หมายตัวผู้กระทำผิดซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.82 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 74.2 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.1 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 18 ต้องตระหนักถึงการดำรงอยู่และอำนาจของประชาชาติมลายูปาตานีซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.75 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 73.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 49.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 19 การใช้ภาษามลายูเป็นภาษาราชการซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.57 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 74.4 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
ลำดับที่ 20 ปล่อยนักโทษคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับทั้งหมดซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.47 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 72.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไป และมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
หากพิจารณาเฉพาะข้อเสนอของทางกลุ่ม BRN ที่ได้เสนอในที่ประชุมพูดคุยสันติภาพและผ่าน Social Network สามารถแสดงได้ ดังตาราง 
 
 
color:#376092;">ข้อเสนอ
color:#376092;">N
color:#376092;">Mean
color:#376092;">Std. Deviation
color:#376092;">1.ต้องเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพ
color:#376092;">2006
color:#376092;">6.94
color:#376092;">2.155
color:#376092;">2.ต้องให้รัฐบาลมาเลเซียมีบทบาทเป็นตัวกลางผู้ไกล่เกลี่ยแทนที่จะเป็นแค่ผู้อำนวยความสะดวกในการพูดคุยเจรจา
color:#376092;">2003
color:#376092;">6.11
color:#376092;">2.216
color:#376092;">3.ต้องให้มีพยานจากชาติอาเซียน, OIC, หรือเอ็นจีโอองค์กรอิสระต่างๆ
color:#376092;">2003
color:#376092;">5.90
color:#376092;">2.323
color:#376092;">4.ต้องตระหนักถึงการดำรงอยู่และอำนาจของประชาชาติมลายูปาตานี
color:#376092;">2004
color:#376092;">5.75
color:#376092;">2.436
color:#376092;">5.ปล่อยนักโทษคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับทั้งหมด
color:#376092;">2004
color:#376092;">5.47
color:#376092;">2.792
color:#376092;">Valid N (listwise)
color:#376092;">2000
 
 
 
 
 
จากตาราง พบว่า ข้อเสนอของทางกลุ่ม BRN ที่ได้เรียกร้องผ่าน Social Network ประชาชนกลุ่มตัวอย่างได้แสดงความเห็นโดยเรียงลำดับความเห็นจากมากไปน้อย ดังนี้
 
๐ ข้อที่คะแนนสูงสุดคือต้องเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.94 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 70.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 55.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 7 คะแนน ขึ้นไป
 
๐ ข้อที่ได้คะแนนระดับสองคือต้องให้รัฐบาลมาเลเซียมีบทบาทเป็นตัวกลางผู้ไกล่เกลี่ยแทนที่จะเป็นแค่ผู้อำนวยความสะดวกในการพูดคุยเจรจาซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่6.11 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 57.5 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
๐ ข้อที่ได้คะแนนที่สามคือต้องให้มีพยานจากชาติอาเซียน, OIC, หรือเอ็นจีโอองค์กรอิสระต่างๆซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.90 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 79 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 49.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
๐ คะแนนในระดับที่สี่คือต้องตระหนักถึงการดำรงอยู่และอำนาจของประชาชาติมลายูปาตานีซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.75 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 73.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไปและมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 49.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
 
๐ ส่วนข้อที่ได้รับคะแนนสูงระดับที่ห้าคือปล่อยนักโทษคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับทั้งหมดซึ่งมีระดับเฉลี่ยของคะแนนอยู่ที่5.47 โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 72.7 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 5 คะแนน ขึ้นไป และมีผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 50.8 ให้คะแนนความเชื่อมั่นตั้งแต่ 6 คะแนน ขึ้นไป
 
กล่าวโดยสรุปข้อเรียกร้องจากทุกฝ่ายรวมทั้งจากบีอาร์เอ็นได้รับการยอมรับจากประชาชน แต่เมื่อเทียบระดับคะแนน ข้อเรียกร้องแบ่งออกเป็นสามกลุ่มตามระดับ กลุ่มที่ได้คะแนนการยอมรับสูงมากเป็นข้อเรียกร้องจากประชาชนเรื่องการร่วมกันแก้ปัญหายาเสพติด การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากความไม่สงบ การหลีกเลี่ยงความรุนแรงต่อเป้าหมายที่เป็นผู้บริสุทธิ์ การลดความรุนแรงจากทุกฝ่าย เป็นต้น ส่วนกลุ่มที่สูงในระดับที่สองคือข้อเรียกร้องเรื่องบทบาทภาคประชาสังคมในการพูดคุยสันติภาพ การเปลี่ยนการพูดคุยสันติภาพให้เป็นการเจรจาสันติภาพ การยกเลิก พ.ร.ก. ฉุกเฉิน และการปกครองแบบพิเศษ เป็นต้น ส่วนข้อเรียกร้องในระดับที่สามส่วนใหญ่คือข้อเรียกร้องของบีอาร์เอ็น คือการตระหนักถึงอำนาจของประชาชนมลายูปาตานี การให้มีประเทศอาเซียน โอไอซีและเอ็นจีโอเป็นสักขีพยานในการเจรจา รวมทั้งการปล่อยนักโทษการเมืองคดีความมั่นคงและยกเลิกหมายจับ เป็นต้น ข้อเรียกร้องทั้งสามกลุ่มได้รับการยอมรับจากประชาชนผู้ตอบทั้งหมดแต่มีระดับความรู้สึกความเชื่อมั่นต่างกันไป