Skip to main content

แถลงการณ์ : ศาสนาเพื่อสันติภาพ สภาศาสนสัมพันธ์แห่งประเทศไทยต่อวิกฤตการณ์บ้านเมือง

              

       ในห้วงเวลาที่สังคมไทยกำลังเผชิญวิกฤติความขัดแย้งทางการเมืองในระดับที่รุนแรงสั่งสมมาเกือบทศวรรษและยังไม่ปรากฏซึ่งแนวโน้มที่ขั้วขัดแย้งหลักทางการเมืองสามารถประนี ประนอมเพื่อบรรลุข้อตกลงในการคลี่คลายวิกฤติและการปฏิรูปการเมืองได้นั้น

 

สรุปสถิติผลกระทบจากความรุนแรงต่อ "เด็ก" ที่ชายแดนใต้ในรอบ 10 ปี

แผนภูมิแสดงจำนวนเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี เสียชีวิตและบาดเจ็บจากเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างปี 2547 - ธันวาคม 2556

เครือข่ายภาคประชาสังคมกับ 'ความหวังสันติภาพแดนใต้'

         กระบวนการพุดคุยเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ ที่ดำเนินมาเกือบหนึ่งปีที่ผ่านมา โดยมีตัวแทนจากรัฐไทยเดินทางไปพูดคุยข้อตกลงในการหาทางออกของปัญหาความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยกับกลุ่มผู้คิดต่างหรือบีอาร์เอ็น ที่ประเทศมาเลยเซีย
       จังหวะของการปรับเปลี่ยนการเมืองไทยในช่วงนี้ อาจจะเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงาน “พูดคุยเพื่อสันติภาพชายแดนใต้” แต่ด้านภาคประชาสังคมและคนในพื้นที่ ซึ่งขับเคลื่อนประเด็นนี้มาตลอดยังคงมีความพยายามในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้กันอย่างต่อเนื่อง

หนึ่งทศวรรษสงครามปาตานี : ความรุนแรงที่ยืดเยื้อ หรือสันติภาพที่ยาวไกล?

Abdulloh Wanahmad : AwanBook

วันที่ 4 มกราคม 2557 ถือเป็นวันครบรอบสิบปีของการปะทุขึ้นของความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ระลอกใหม่ นับตั้งแต่ที่อธิปไตยของปาตานีได้ล่มสลายลงเมื่อปี คศ. 1786 (พ.ศ. 2329) หรือประมาณ 228 ปีที่แล้ว ที่ความขัดแย้งระหว่างสยามประเทศกับรัฐปาตานี ที่ต่อมากลายฐานะเป็นผู้ที่ถูกปกครองภายหลังจากพ่ายแพ้ต่อการรุกรานของสยามประเทศ ที่ก่อนหน้านั้นถือเป็นคู่สงครามมาโดยตลอดระหว่างคนสยามกับคนมลายูที่มีความเป็นอัติลักษณ์ทางเชื้อชาติ ความเชื่อและวัฒนธรรมที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง

ประมวลภาพบรรยากาศงาน Pesta Patani: Masyarakat Madani ถอดบทเรียน ๑๐ ปี ภาคประชาสังคม

ประมวลภาพบรรยากาศงาน 

Pesta Patani : Masyarakat Madani
ถอดบทเรียน ๑๐ ปี ภาคประชาสังคม

วันที่ ๕ มกราคม ๒๕๕๗
ณ มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี

กำหนดการงาน Pasta Patani