Skip to main content

ข่าว 3 มิติ: บทเรียนสันติภาพมินดาเนา

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จัดบรรยายทางวิชาการเรื่อง “เมื่อทหารทำงานสันติภาพ: บทเรียนและประสบการณ์จากมินดาเนา” โดยโฆษกกองพลทหารราบที่ 6 กองทัพบกฟิลิปปินส์ ซึ่งเห็นว่า การแก้ปัญหาความขัดแย้งต้องเอาชนะด้วยสันติภาพไม่ใช่การใช้อาวุธ และการพูดคุยกับกลุ่มคิดต่างจะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการสร้างสันติภาพ ติดตามรายงานจากคุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย

เมื่อก้าวข้ามหนึ่งร้อยเดือนของสถานการณ์จังหวัดชายแดนใต้: เรากำลังจะไปทางไหน?

 
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ. ปัตตานี
 

สันติสนทนาในบริบทของความรุนแรงที่ภาคใต้

หมายเหตุ: บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษในเว็บไซต์และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 ในชื่อ “Building the case for peace dialogues” ข้อเขียนข้างล่างนี้เป็นบทความฉบับเต็มที่ได้รับการอนุญาตให้กองบรรณาธิการทำการแปลและผ่านการตรวจทานโดยผู้เขียน กองบรรณาธิการเห็นว่าในสถานการณ์ที่ความรุนแรงกดทับและมีการถกเถียงถึงกระบวนการสันติสนทนาและการเจรจาสันติภาพอย่าง

รายงานสำนักข่าวอิศรา: "3 ทฤษฎีสู่เจรจาสันติภาพดับไฟใต้" ประเด็นท้าทายว่าที่รัฐบาลใหม่ป้ายแดง

หมายเหตุ: เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคมที่ผ่านมา กลุ่มบุหงารายาและมูลนิธิผสานวัฒนธรรมได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเวทีความรู้ครั้งที่ 1 หัวข้อ “กระบวนการสันติภาพ เริ่มต้นอย่างไร?” ขึ้นที่ มอ.ปัตตานี (คลิกดูกำหนดการ) โดยมี ดร.นอร์เบิร์ท รอปเปอร์ส ผู้อำนวยการมูลนิธิสนับสนุนสันติภ