Skip to main content

นักศึกษานอกพื้นที่กับสันติภาพ

10 กว่าปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ทำให้จำนวนนักศึกษาที่เลือกเรียนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีจำนวนน้อยลง

นางสาว จิราวรรณ จีระยา นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มอ ปัตตานีกล่าวว่า ใจริงอยากเรียนครู คณะศึกษาศาสตร์ เป็นกังวลมากเพราะว่าอยู่บัตตานีและรู้จักพี่คนหนึ่งซึ่งเรียนเอกเดียวกันเป็นรุ่นพี่เลยสอบถามพี่เขา เลยกล้าที่จะมาเรียนที่นี่

นักศึกษานอกพื้นที่กับสันติภาพ

10 กว่าปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ทำให้จำนวนนักศึกษาที่เลือกเรียนในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี มีจำนวนน้อยลง

นางสาว จิราวรรณ จีระยา นักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มอ ปัตตานีกล่าวว่า ใจริงอยากเรียนครู คณะศึกษาศาสตร์ เป็นกังวลมากเพราะว่าอยู่บัตตานีและรู้จักพี่คนหนึ่งซึ่งเรียนเอกเดียวกันเป็นรุ่นพี่เลยสอบถามพี่เขา เลยกล้าที่จะมาเรียนที่นี่

 

ความยุติธรรมเพื่อการเปลี่ยนผ่านควรมีบทบาทอย่างไรในชายแดนใต้

เขียนโดย
แพทริค แบรอน
ผู้อำนวยการภูมิภาค โครงการความขัดแย้งและการพัฒนา มูลนิธิเอเชีย
 
แปลโดย
ศศิวรรณ จริงจิตร
สันติ นิลแดง
เจ้าหน้าที่โครงการ มูลนิธิเอเชีย
 

สันติ(ที่มองเห็น)ภาพ : ดุลยปาฐกว่าด้วย "ภาพ" การพูดคุยสันติภาพรอบใหม่

[ ViViPEACE ] สันติ(ที่มองเห็น)ภาพ  : ดุลยปาฐกว่าด้วย "ภาพ" การพูดคุยสันติภาพรอบใหม่

28 กุมภาพันธ์ 2558
หอประชุม ชั้น 2 คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
 
ภาพถ่ายโดย เครือข่ายช่างภาพชายแดนใต้ DSP

 

สันติภาพสมบัติร่วมของมนุษยชาติ

สันติภาพเป็นสมบัติร่วมของมนุษยชาติทั้งมวล
ไม่มีผู้ใดจะ "ผูกขาด" ในการ "เป็นเจ้าของ" 
ดอกผลแห่งสันติภาพก่อให้เกิดความสงบและความเชื่อมั่นในกันและกัน
สันติภาพทำให้ความแตกต่างดำรงอยู่ด้วยกันได้

ความเหมือนที่แตกต่างของคำว่า "สันติภาพ" กับ "สันติสุข"

ตูแวดานียา ตูแวแมแง

หลังจากที่การพยายามอย่างเป็นทางการให้ฝ่ายขบวนการต่อสู้เพื่อเอกราชปาตานีทุกกลุ่มและภาคประชาสังคมทุกกลุ่มได้มีการพูดคุยเพื่อแก้ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยตามกรอบนิยามการพูดคุยโดยรัฐบาลคสช.ได้กำกับการพูดคุยด้วยคำว่า "สันติสุข" แทนที่คำว่า "สันติภาพ" โดยรัฐไทยและรัฐมาเลเซียอีกครั้งเมื่อวันที่1ธันวาคม 2557 ด้วยการเยือนประเทศมาเลเซียพบนายกรัฐมนตรีดาโต๊ะศรี นายิบ ราซัก ของพณฯนายกรัฐมนตรีพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา อย่างเป็นทางการเพื่อตกลงกันวางกรอบหลักการพูดคุย3ข้อด้วยกันคือ

1.ต้องมีช่วงเวลาการยุติความรุนแรง

ภาพบรรยากาศ พิธีเปิดงานศิลปกรรมร่วมสมัย "Seni Budaya Melayu di Selatan Thai"

ภาพบรรยากาศพิธีเปิดงาน นิทรรศการศิลปกรรมร่วมสมัย ชุด "Seni Budaya Melayu di Selatan Thai ศิลปวัฒนธรรมมลายูในภาคใต้"
วันที่ 9 ธันวาคม 2557 ณ หอศิลป์สันติภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
โดย นิทรรศการฯ จะจัดแสดงและเปิดให้ชม ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2557 ถึง 15 มกราคม 2558
จัดโดยกลุ่ม South Free Art Group และ เพื่อนๆ ศิลปินในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้

- ภาพถ่ายโดย 'kroowinai jaidee' -

“ยิง ตาย จ่าย จบ” การเยียวยาที่ทำลายกระบวนการยุติธรรม

อาบีบุสตา ดอเลาะ  

การเยียวยาคือนโยบายหนึ่งที่รัฐใช้ในการแก้ปัญหาจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความสูญเสียจากเหตุความรุนแรง แม้ความสูญเสียต่อชีวิต ร่างกายและจิตใจ ไม่อาจตีค่าแลกเป็นเงินหรือทรัพย์สินได้ กระนั้นการเยียวก็ยังมีความสำคัญที่จะชดเชยค่าเสียหายและเป็นกำลังใจให้กับผู้สูญเสีย การคัดค้านโยบายเงินเยียวยาแบบหลังชนฝาคงไม่ถูกต้องนัก เพียงแต่ว่านอกจากการเยียวยาแล้ว รัฐต้องไม่ละเลยต่อการอำนวยความยุติธรรมในมิติอื่นร่วมด้วย