นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ :ความจริงจากพื้นที่ (3)
จรัญ มะลูลีม
ดังนั้น สังคมไทยจำเป็นจะต้องคงไว้และยอมรับโดยดุษฎีในความแตกต่างดังกล่าวและจะต้องไม่พยายามที่จะทำการใดๆเพื่อขจัดความแตกต่างเหล่านี้ มิฉะนั้น แล้วจะนำไปสู่ปัญหาต่างๆ มากมายโดยไม่จำเป็น
มุมมุสลิม: นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ :ความจริงจากพื้นที่ (2)
จรัญ มะลูลีม
ความหมายและขอบเขตของปัญหา (ต่อ)
ความชัดเจนในเอกลักษณ์ทั้งสองประการดังกล่าวนี้ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและความสับสนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาพอสมควรมีคนเป็นจำนวนมากปรารภว่าชาวมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ไม่มีความรู้สึกเป็นไทยเท่าที่ควร จึงเกิดความพยายามในฝ่ายของรัฐที่จะส่งเสริมให้ชาวมุสลิมเหล่านี้มีความรู้สึกเป็นไทยแต่เราลืมไปว่า คำว่าไทยในความหมายที่ใช้อยู่ในขณะนี้มีสองความหมายด้วยกัน คือไทยในความหมายของสัญชาติ และไทยในความหมายของเชื้อชาติหรือชาติพันธุ์
นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ : ความจริงจากพื้นที่ (1)
จรัญ มะลูลีม
แนวคิดการจัดตั้งนครปัตตานีมิได้มีความขัดแย้งกับนโยบายของรัฐว่าด้วยการจัดองค์การบริหารราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่เน้นการสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อใช้เป็นแผนแม่บทในการแก้ไขปัญหาแต่อย่างใด การจัดตั้งนครปัตตานีอาจถือได้ว่าเป็นการใช้การเมืองนำการทหาร โดยเน้นไปที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหารในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างการเสริมสร้างความเข้าใจเพื่อเป็นเครื่องมือดำเนินการเป็นด้านหลัก
โอกาสของ Autonomy และอนาคตของ “เรา”
จังหวะก้าว… “ภาคประชาสังคม” ดัน “เขตพิเศษ” ใต้รัฐธรรมนูญ
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง : ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (จบ)
ศราวุฒิ อารีย์
ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา
เขตปกครองตนเองในทางปฏิบัติ
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง: ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (2)
ศราวุฒิ อารีย์
ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง : ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (1)