สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
วาระทางสังคม กรณี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
หากนิยามสุขภาพอันหมายถึง สุขภาวะที่สมบูรณ์ ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทางจิตวิญญาณนั้น สุขภาวะในมิติทั้ง 4 เชื่อมโยงสัมพันธ์และเป็นปัจจัยต่อกัน เช่น เมื่อพูดถึงสุขภาวะทางสังคม ย่อมมีองค์ประกอบแห่งสุขภาวะทางกาย ทางจิตและทางจิตวิญญาณเชื่อมโยงอยู่ด้วย สุขภาวะทางสังคม หมายถึง สุขภาวะที่เกิดจากการอยู่ร่วมกันด้วยดีของกลุ่มคน อ่านทั้งหมด...
การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการช่วยเหลือเยียวยา
ผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในสถานการณ์ความไม่สงบ
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บจากความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า VIS เป็นการพัฒนาต่อยอดมาจากระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บระดับประเทศ (National Injury Surveillance) หรือ IS ที่พัฒนาโดยสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข มาตั้งแต่ปี 2538 โดยได้นำมาปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเก็บข้อมูลของผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจากสาเหตุภายนอกแบบตั้งใจ (Intentional injury) ทุกราย ที่มารับการรักษาและชันสูตรพลิกศพที่โรงพยาบาลของรัฐทุกแห่งในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวม 47 แห่ง อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : แนวทางการพัฒนาตลาดอาหารฮาลาลเพื่อการส่งออก
ของประเทศไทย
ผู้วิจัย : ผศ.ไพรัช วัชรพันธุ์, ดร.กิตติ เจิดรังสี และ ผศ.วีระศักดิ์ ตุลยาพร
1.ศึกษาเปรียบเทียบ (Benchmark) การจัดการอาหารฮาลาลระหว่างประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย 2.ศึกษาปัญหาการตลาดอาหารฮาลาลภายในประเทศไทย 3.การพัฒนาตลาดและลู่ทางการตลาด สินค้าอาหารฮาลาลในต่างประเทศ เช่น กลุ่มประเทศสมาชิก OIC ได้แก่ มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี และกลุ่มประเทศที่เป็น Non-Muslim ได้แก่ EU 4. ศึกษาแนวทางและแนวคิดอิสลามในการพัฒนาอาหารฮาลาลในระดับวิสาหกิจชุมชนอิสลามและ SMEs ที่เกี่ยวกับอาหารฮาลาล อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : การกำหนดและการประเมินสมรรถนะบุคลากรภาครัฐ
ที่เหมาะสมในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
เป็นการศึกษาถึงสมรรถนะ(Competency) ของบุคลากรภาครัฐเฉพาะประเด็นสมรรถนะเชิงพฤติกรรมในการทำงานเท่านั้นโดย จะทำการศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ จังหวัดยะลา ปัตตานี นราธิวาส ในกลุ่มบุคลากรระดับปฏิบัติที่มีลักษณะงานต้องปฏิสัมพันธ์กับประชาชนโดยตรง ได้แก่ข้าราชการครู ตำรวจ ทหาร ปกครองและท้องถิ่น และสาธารณสุข อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : มลายูปาตานี - ชาติพันธุ์ อัตลักษณ์ และการเปลี่ยนแปลง
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.วรวิทย์ บารู และคณะ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (สัมภาษณ์บุคคลเป้าหมายจังหวัดละ 10 ราย) การสังเกตแบบมีส่วนร่วม จะศึกษาโดยเข้าไปอาศัยอยู่ในชุมชนตลอดเวลา ในชุมชนที่ยังยึดมั่นรักษาเอกลักษณ์ความเป็นมลายูไว้ได้อย่างเข้มข้น 3 ชุมชนใน3 จังหวัด และชุมชนที่มีการคลี่คลายเอกลักษณ์ความเป็นมลายู หรือเป็นชุมชนที่มีการผสมผสานในระดับค่อนข้างสูง 3 ชุมชนใน 3 จังหวัด อ่านทั้งหมด...
กรอบประเด็นที่ศึกษา : การคบเพื่อนเพศเดียวกัน การคบเพื่อนต่างเพศ การศึกษาทั้งด้านสามัญและศาสนา การใช้เวลาว่าง การข้องเกี่ยวกับอบายมุข การทำงาน การแต่งกาย ความสัมพันธ์กับครอบครัว/ญาติ ความสัมพันธ์กับชุมชน/เพื่อนบ้าน การปฏิบัติศาสนกิจ และ การบำเพ็ญประโยชน์ อ่านทั้งหมด...
ผู้วิจัย : ผศ.ปิยะ กิจถาวร, น.ส.ดุษณ์ดาว เลิศพิพัฒน์, น.ส.อารีลักษณ์ พูลทรัพย์,
น.ส.ไรนี สายนุ้ย, นายไพซอล ดาโอ๊ะ, นายหนึ่งกมล พิพิธพันธุ์,
น.ส.อรชา รักดี และ นายสุรวุฒน์ ช่อไม้ทอง
การย้ายเข้า ย้ายออก ตามทะเบียนราษฎร จำแนก เป็นรายอำเภอ ตั้งแต่ปี 2547 ถึง เดือนพฤษภาคม 2550 พบว่า จำนวนการย้ายเข้า และการย้ายออกตามใบแจ้งย้ายในอำเภอที่ทำการศึกษามีจำนวนมีไม่แตกต่างกันมากนัก และเป็นไปใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่ยืนยันได้ว่า ไม่มีการอพยพ การย้ายออกของราษฎรในพื้นที่อำเภอที่ทำการศึกษาเป็นจำนวนมากที่ผิดปกติแต่อย่างใด อ่านทั้งหมด...
ผู้วิจัย : อ.จารุณี สุวรรณรัศมี
วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อศึกษาความสำคัญ และรูปแบบการสื่อสาร, สกัดองค์ความรู้ที่เกี่ยวกับการสื่อสาร, กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาด้านการสื่อสาร และส่งเสริมงานด้านเครือข่ายบุคคล อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามวิถีอิสลาม
ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามเพื่อบูรณภาพสังคม
ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัย : รศ.ดร.ชุมศักดิ์ อินทร์รักษ์ และคณะ
"การศึกษาเป็นเรื่องสำคัญและเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนที่ต้องเป็นทั้งผู้แสวงความรู้และเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ตลอดชีวิต"
"ศาสนาอิสลามเป็นศาสนาที่ส่งเสริมและกระตุ้นเตือนให้มุสลิมศึกษาหาความรู้ทุกด้านตลอดเวลา มิได้แยกความรู้ทางโลกและทางธรรมออกจากกัน แต่ต้องศึกษาหาความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตอย่างสมดุลและต่อเนื่อง" อ่านทั้งหมด...
ข้อค้นพบ : รัฐยังขาดความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของตาดีกาและปอเนาะ มีความพยายามที่จะนำตาดีกาและปอเนาะเข้ามาในระบบ มีการใช้งบประมาณที่สูญเปล่า และมีช่องว่างระหว่างตาดีกา ปอเนาะและหน่วยงานของรัฐ อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : ศักยภาพและข้อจำกัดของการผลิตข้าวเพื่อความมั่นคง
ของชาวนา ในจังหวัดปัตตานี
ผู้วิจัย : คณะเศรษฐศาสตร์ มอ. หาดใหญ่ / รศ.ดร.สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล, อ.โชติมา พรสว่าง, อ.ไชยยะ คงมณี, อ.อรอนงค์ ลองพิชัย, นพรัตน์ ศักดิ์พันธ์, วิกรม โง้วสุวรรณ และปริญญา บัณฑิโต
วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษานโยบายโครงการของรัฐและกระบวนการนโยบายเกษตรที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิต เศรษฐกิจและสังคมของชาวนาในจังหวัดปัตตานี, เพื่อศึกษาปัจจัยสำคัญที่เป็นมูลเหตุให้เกิดปัญหานาร้าง ทั้งปัจจัยในเชิงเศรษฐกิจและไม่ใช่เศรษฐกิจ, เพื่อศึกษาวิถีชีวิต โครงสร้างอาชีพ รายได้ รายจ่ายและหนี้สินของครัวเรือนชาวนาในปัจจุบัน, เพื่อศึกษาพัฒนาการของวิถีการผลิตข้าวและการจัดการทางการผลิต รวมทั้งทัศนคติของชาวนาต่อการทำนาในมิติต่าง ๆ ในปัจจุบันเมื่อเทียบกับในอดีต และเพื่อกำหนดแนวทางในการยกระดับศักยภาพการทำนา เพื่อความมั่นคงของชาวนา อ่านทั้งหมด...
งานวิจัย : การศึกษานโยบาย มาตรการ และแนวทางการแก้ปัญหา
ความไม่สงบและการพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัย : บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ, วิโชติ จงรุ่งโรจน์, ดำรง เสียมไหม
และศักดา ขจรบุญ
นโยบาย มาตรการ และแนวทางการแก้ปัญหาความไม่สงบและการพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ดังนั้น จึงมีความสำคัญและเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการทบทวน และปรับเปลี่ยนนโยบายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ที่แปรเปลี่ยนไป รวมถึงการปฏิบัติตามนโยบาย และการประเมินผลนโยบาย ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นและต้องกระทำอย่างต่อเนื่อง อ่านทั้งหมด...
ระดับเบื้องต้นของนักเรียนในโรงเรียน ประถมศึกษาของรัฐ
ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.ปรารถนา กาลเนาวกุล และคณะ
และสถาบันศึกษาปอเนาะ
ผู้วิจัย : ผศ.ดร.อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต
จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อความสมานฉันท์ในชุมชน
ในชีวิตและทรัพย์สิน กรณีการอพยพย้ายถิ่นในพื้นที่ 3 จังหวัด
ชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
เพื่อเสริมสร้างสันติสุขในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผู้วิจัย : รศ.ดลมนรรจน์ บากา, นายเกษตรชัย และคณะ