เบญจมาศ บุญฤทธิ์
เอกรินทร์ ต่วนศิริ
สถาบันข่าวอิศรา สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย
แม่น้ำตากใบไหลเอื่อย เลื้อยเลาะไปตามฝั่งสตรีวัยกลางคนนางหนึ่งยืนสงบนิ่งอยู่ริมตลิ่ง สายตานางมองไปยังท้องน้ำเบื้องหน้า
สายลมแห่งเดือนรอมฎอนพัดแผ่วเบา เงาแดดยามเย็นทอดรำไร
เมื่อสองปีก่อน น้ำตรงนี้เคยเป็นสีแดงก๊ะนะไม่รู้ว่ามันมาจากไหน ไม่รู้ว่ามันเป็นอะไร เป็นเลือดหรือว่าเป็นสีสะท้อนจากแดด ถึงวันนี้ก๊ะนะก็ยังไม่รู้ เลยหมั่นมาดูเผื่อจะได้รู้ในสักวัน”
ก๊ะแยนะ สะละแม
เหมือนเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อวาน
“
“
ความทรงจำของกะนะอยู่ที่หน้า สภ.อ.ตากใบในขณะที่ความทรงจำของชาวบ้านผู้ชายกว่า 1,300 คนที่ถูกจับกุมอยู่ในรถบรรทุกของทหาร ขณะลำเลียงพวกเขาไปยังค่ายอิงคยุทธบริหาร
“
เขาจับผมทั้งที่ผมไม่ได้ทำร้ายใคร ผมไปที่หน้าสภ.อ.ตากใบ พร้อมกับคนอื่นๆ เพราะเป็นเดือนรอมฎอน ขนาดคนไกลๆ ยังมานับประสาอะไรกับคนในพื้นที่ ที่ใกล้เหตุการณ์อย่างผม ผมไปเพื่อดูเหตุการณ์เรียกว่าเป็นไทยมุงก็ได้” เขากล่าว
“
เพื่อให้สถานการณ์ดำเนินไปสู่ความรุนแรงนั้นทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและชาวบ้านยอมรับว่ามีจริง แต่ไม่ว่าข้อเท็จจริงจะเป็นอย่างไรสิ่งที่สำคัญกว่าคือชีวิตที่จากโลกนี้ไป 85 ราย และชีวิตที่ปลิดปลิวไปเหล่านั้นเป็นชีวิตของกลุ่มคนที่ทุกฝ่ายระบุตรงกันว่า “พวกเขาเป็นแค่ไทยมุง”
ส่วนคนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งจงใจสร้างความสับสนวุ่นวาย
เมื่อความสูญเสียเกิดขึ้น
คดีตากใบ” มี 3 ประเภท คือ คดีไต่สวนการตายคดีแพ่งฟ้องเรียกค่าเสียหายของญาติผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บและคดีอาญาที่รัฐฟ้องชาวบ้าน 59 คน
“
2 ปี แล้ว วันนี้ กระบวนการยุติธรรมเดินทางไปถึงไหน?
ครบ
ในส่วนของคดีไต่สวนการตาย
ศาลจังหวัดปัตตานีกำลังพิจารณาคดีค่าเสียหายให้แก่ญาติผู้เสียชีวิตในระหว่างการขนย้ายผู้ถูกจับจากสภ.อ.ตากใบ ไปยังค่ายอิงคยุทธบริหาร ส่วนที่ศาลจังหวัดนราธิวาสเป็นคดีเรียกค่าเสียหายให้แก่ผู้ได้รับบาดเจ็บจากการใช้กำลังสลายการชุมนุมขณะนี้คดีในสองศาลยังไม่จบสิ้น ประเด็นหลักในการไต่สวนคือความเกี่ยวพันของชาวบ้านตากใบซึ่งเป็นโจทก์กับผู้เสียชีวิต รายละเอียดการเสียชีวิตเช่น วัน เวลา สาเหตุ รวมถึงสภาพเศรษฐกิจของโจทก์ ว่าเป็นผู้ยากจนหรือไม่ในระหว่างไต่สวนมีการเจรจาไกล่เกลี่ยระหว่างโจทก์และจำเลยหลายนัดขณะนี้การไกล่เกลี่ยยังไม่ยุติ
ด้านคดีแพ่งฟ้องร้องค่าเสียหาย
59 คน นั้นปัจจุบันเหลือจำเลย 56 คนเนื่องจากจะเลยคนหนึ่งถูกลอบยิงเสียชีวิตไปเมื่อปีที่ผ่านมาจำเลยอีกหนึ่งรายให้การรับสารภาพ มีการพิจารณาคดีแยกต่างหากคำพิพากษามีความผิดตามฟ้องให้จำเลยมีโทษจำคุก 8 ปี แต่ให้รอลงอาญา 4 ปีส่วนอีกรายหนึ่งเพิ่งเสียชีวิตไปเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา
ส่วนคดีอาญาที่รัฐฟ้องชาวบ้าน
57 คนต้องต่อสู้ในชั้นศาลในขณะนี้มีอยู่ว่า “ฐานความผิด ร่วมกันมั่วสุมตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป ใช้กำลังประทุษร้ายขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้ายให้เกิดความวุ่นวายขึ้นในบ้านเมืองโดยมีอาวุธและเมื่อเจ้าพนักงานสั่งผู้ที่มั่วสุมให้เลิกเสียแต่ผู้มั่วสุมไม่เลิกร่วมกันข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่หรือละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้ายร่วมกันต่อสู้หรือขัดขวางเจ้าพนักงานในการปฏิบัติการตามหน้าที่โดยใช้กำลังประทุษร้ายหรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้ายโดยร่วมกันกระทำความผิดตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปร่วมกันทำให้เสียทรัพย์ที่ใช้หรือมีไว้เพื่อสาธารณประโยชน์”
ข้อหาที่ชาวบ้าน
ส่วนความคืบหน้าของคดีนั้น
ทำให้วิถีชีวิตของชาวบ้านตากใบเปลี่ยนไป มิพักต้องเอ่ยว่าสำหรับคดีที่ชาวบ้านมากมายตกเป็นผู้ต้องหาพวกเขาเหล่านั้นมีความผิดตามที่รัฐฟ้องจริงหรือไม่?
ความล่าช้าของการดำเนินการพิจาณาคดีทั้งสาม
ทำไมญาติพี่น้องของพวกเขาต้องตาย? แล้วใครจะรับผิดชอบ? ทำไมพวกเขาต้องถูกรัฐฟ้องในข้อหาร้ายแรงขนาดนั้น? คำถามเหล่านี้ยังคงรอคอยคำตอบที่กำลังอยู่ในระหว่างการเดินทางของกระบวนการยุติธรรม
“
“
“
16 ปีซึ่งสูญเสียตาข้างซ้ายไปจากถูกยิงในเหตุการณ์ที่หน้า สภ.อ.ตากใบ เขาเล่าว่าทุกวันนี้เหนื่อยมากกับชีวิตที่ไม่เป็นปกติ เมื่อก่อนนี้เขาข้ามไปทำงานที่มาเลเซียเพื่อหารายได้มาเลี้ยงดูครอบครัวแต่ทุกวันนี้ทุกวันนี้กลับไปทำงานแบบเดิมไม่ได้แล้ว เนื่องจากความพิการและต้องรอไปขึ้นศาล
เช่นเดียวกับนายแวดี มะโซ๊ะ อายุ
ตอนนี้แผลเริ่มหายดีแล้ว แต่ก็ยังเจ็บบ้าง ผมยังจำเสมอบางครั้งพอส่องกระจกเห็นบาดแผลก็ทำให้นึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ไม่รู้เพราะอะไรทั้งที่อยากจะลืม แต่ก็ลืมไม่ได้” เขาพูดพลางก้มหน้าลงซ่อนบาดแผลจากสายตาเรา
“
25 หนึ่งในจำเลยที่ถูกรัฐฟ้อง บอกเราว่า สิ่งที่อยากเขาได้มากที่สุดในชีวิตตอนนี้คืออยากให้เจ้าหน้าที่ถอนฟ้องพวกเขา เพราะผลการสอบของฝ่ายต่างๆ ก็สรุปแล้วว่าเจ้าหน้าที่ได้กระทำเกินกว่าเหตุและเขาไม่ต้องการเข้าไปเกี่ยวข้องกับอะไรอีกแล้ว
ในขณะที่นายมามะอะตัง เซ็งโต๊ะ วัย
“
คดีของสามีก๊ะนั้น ทางการสรุปว่าเป็นคดีส่วนตัวก๊ะอยากถามเจ้าหน้าที่ว่าใครเป็นคนสรุป เพราะไม่มีใครมาสัมภาษณ์เราเลยก๊ะรู้สึกว่ามันไม่ยุติธรรม” นางบอกเล่าความรู้สึกกับเราด้วยนัยตาแดงช้ำ
“
“
ภาพทุกอย่างยังติดตาอยู่จนถึงทุกวันนี้วันนี้ก๊ะไม่อยากเรียกร้อง ไม่อยากให้มีการรื้อฟื้นอีก ปัจจุบันนี้รู้สึกวุ่นวายถ้าสามีก๊ะยังอยู่เขาก็จะให้คำปรึกษาและทำให้ก๊ะไม่รู้สึกว่าอยู่คนเดียว” นางก้มหน้าซ่อนน้ำตาและพูดประโยคสุดท้ายออกมาว่า
“
“
ในฐานะแม่ของลูกเล็กๆ 4 คนนางซากียะห์คิดว่าตัวเองจะแบกรับทุกอย่างไว้คนเดียวได้ และหวังให้ลูกๆเติบโตขึ้นอย่างปราศจากความทรงจำอันเจ็บปวด แต่ความจริงก็คือ เมื่อลูกๆของนางโตพอที่จะตั้งคำถามถึงเรื่องราวที่เป็นรอยด่างในประวัติศาสตร์นี้ได้นางจะตอบคำถามลูกๆ อย่างไร
เราจะเล่าเรื่องนี้ต่อไปอย่างไร
ถ้าอยากจะเล่าเรื่องเหล่านี้ให้ลูกหลานฟังผมก็คงจะเล่าเป็น 3 อย่าง อย่างที่หนึ่งก็คือ เล่าเรื่องข้อเท็จจริงเท่าที่เราทราบ สองก็คือ เล่าว่าข้อเท็จจริงเหล่านี้มีความหมายกับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกันอย่างที่สามก็คือว่า เล่าว่าอารมณ์ในสังคมไทยที่ผมคิดว่าควรจะมีคืออะไรซึ่งในกรณีนี้ก็คือความโกรธ แต่ไม่ได้โกรธคนทำนะโกรธว่าทำไมสังคมไทยจึงมาถึงจุดนี้ได้ที่ปล่อยให้เหตุการณ์แบบนี้เกิดขึ้นแล้วก็ไม่มีการรับผิดชอบอะไร” อาจารย์ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ กล่าว
“
“
ในขณะที่ มูฮำมัดอายุบ ปาทานเชื่อว่าหากมีการเปิดเผยความจริงออกมา และรัฐยอมรับว่า “ผิด” ความรู้สึกของผู้สูญเสีย และความคลางแคลงใจของคนไทยทั่วไปต่อการกระทำของรัฐจะคลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น
“
เขากล่าวต่อว่า “สังคมต้องถอดบทเรียนออกมาให้เร็วที่สุดแล้วก็ยอมรับความจริงว่า ถ้าเราผิด เราก็บอกว่า โอเค เราผิด เราขอโทษนะ” ผมว่าจบแต่ถ้าเราไม่ขอโทษ เราไม่ยอมรับความจริง เราปล่อยให้สถานการณ์อยู่อย่างนี้ความขัดแย้งจะยังขยายความรู้สึก คนก็จะรู้สึกเคียดแค้นเข้าไปอีกภาครัฐต้องยอมรับความจริงว่าที่รัฐกระทำมันไม่ถูกต้องตรงไหน ต้องอธิบายให้คนเข้าใจไม่ใช่เงียบ แล้วให้สถานการณ์มันไปโดยธรรมชาติมันจะกลายเป็นประวัติศาสตร์ที่ไปตอกย้ำความรู้สึกให้คนขัดแย้งเข้าไปอีก”
นอกจากรัฐแล้ว
คุณคาดการณ์ได้เลยว่าในอีก 10 หรือ 20 ปีถ้าวันนี้ประชาชนโดยทั่วไปยังไม่พยายามเข้ามามีความเห็นหรือพยายามเข้ามาแก้ไขวิธีการปฏิบัติของรัฐวันหนึ่งอาจเป็นคุณที่ต้องนอนหมอบลงบนพื้นเหมือนนักศึกษาใน 6 ตุลาหรือชาวบ้านตากใบในวันนั้น” นารีกล่าว
“
“
มันจะไม่เกิดขึ้นอีก
สายน้ำตากใบยังคงไหลล่อง แสงแดดสีทองกำลังลับขอบฟ้า
“
ก๊ะนะยังคงยืนนิ่งแต่สายตานางไม่ได้จับจ้องไปที่ท้องน้ำอีกต่อไปหากแต่เป็นขอบฟ้าที่เริ่มมีแสงจันทร์ทาบทา
เพียงครู่เดียวเท่านั้นพระจันทร์ก็ลอยมาแขวนให้เราแหงนมอง
“
ดูสิ เงาจันทร์อยู่ในน้ำแม่น้ำตากใบวันนี้สวยไหม?”
ในขณะที่เรากำลังชื่นชมกับภาพเบื้องหน้า กะนะก็หันมา และชี้ชวนให้เราดูสายน้ำตากใบ
จริงๆ แล้วกะนะก็ไม่อยากเห็นมันอีกหรอกแม่น้ำสีเลือดน่ะ ที่มาดู ก็เพื่อให้แน่ใจว่ามันไม่ได้เป็นสีนั้นอีก และมันจะไม่เป็นสีนั้นอีก”
ลมพัดมาไหวไหว หอบเอากลิ่นไอดินปลายฤดูฝนมาจากริมตลิ่งโชยมา
?
เราควรพยายามเรียกร้องให้มีการแก้ไขเรื่องนี้อย่างเป็นระบบและมีรูปธรรมเห็นชัดว่าต่อไปนี้รัฐจะปฏิบัติอย่างไรกับประชาชนถ้าเกิดเหตุเกิดความขัดแย้งแบบนี้เพราะหลายคนคิดว่าหลัง 6 ตุลาจะไม่เกิดเหตุการณ์อย่างนี้ขึ้น แต่เราจะคิดเอาไม่ได้มันต้องเรียกร้องให้มีการปฏิบัติอย่างชัดเจน มีแบบแผนปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมออกมาถึงจะทำให้ประชาชนมั่นใจได้ว่าในอนาคตเรื่องอย่างนี้ มันจะไม่เกิดขึ้นอีก”
คนไทยทุกคนในสังคมก็ต้องส่วนในการเยียวยาโศกนาฏกรรมนี้ด้วย โดยนารี เจริญผลพิริยะเชื่อว่า ความเคลื่อนไหวของคนไทยทั่วประเทศจะส่งผลให้รัฐต้องทบทวนบทเรียนนี้และนี่ไม่ใช่ความสูญเสียอันเกิดจากความขัดแย้งของรัฐกับประชาชนครั้งแรกเหตุการณ์ในทำนองนี้เกิดขึ้นมาหลายครั้งแล้ว รวมทั้งกรณี 6 ตุลา
ถ้าภาครัฐออกมาพูด ประชาชนรับได้แน่นอนแล้วก็จะทำให้มันเกิดความเป็นธรรม ทั้งฝ่ายที่ถูกกระทำและฝ่ายที่กระทำ ผมว่าสังคมไทยรับได้ สังคมมุสลิมรับได้ แต่ 2 ปีที่ผ่านมาเราไม่ค่อยพูดถึงคนที่กระทำเลย เราพูดถึงผู้ที่ถูกกระทำมากกว่าคนที่กระทำต่อเขาผมว่ามันเป็นเรื่องที่แย่มาก ตอนนี้คนที่ถูกกระทำต้องมานั่งจดจำ พอถึงรอมฎอนปีหนึ่งก็มานั่งจดจำความสูญเสีย แต่ฝ่ายที่กระทำเขา เราไม่พูดถึงเลย”
ผมคิดว่าสังคมไทยน่าจะทำสองอย่าง คือชดเชยในทางความทรงจำและความรู้สึกให้กับคนที่สูญเสีย และในทางกลับกันการเผชิญหน้ากับความทรงจำและความรู้สึกนั้นอาจจะช่วยให้สังคมไทยแข็งแรงขึ้นเพราะไม่เลือกที่จะไปหลบซ่อนสิ่งเหล่านี้ไว้ สังคมไทยเก่งในเรื่องเหล่านี้แต่มันอาจจะถึงเวลาที่ต้องเผชิญกับสิ่งแหล่านี้ และเผชิญกับมันจากมุมของเหยื่อมันอาจจะทำคู่กันไปกับคุณค่าที่มีอยู่ในสังคมไทย ก็คือความเมตตา กรุณา”
?
และสำหรับทุกคนในสังคมไทยเราจะเล่าเรื่องนี้ต่อไปอย่างไร?
ตอนนี้ก๊ะอยากให้ลูกๆ ได้เรียนหนังสือให้มากที่สุดส่วนเหตุการณ์ตากใบ ไม่อยากพูดถึงอีกแล้ว และไม่อยากเล่าให้ลูกๆ ฟัง”
บางครั้งมีคนมาเยี่ยมหลายๆ คน ก๊ะก็รู้สึกกลัวเพราะอาจมีเพื่อนบ้านที่ไม่หวังดีจะแจ้งเจ้าหน้าที่ก็ได้ เพราะเขาอาจรู้สึกกลัวบางครั้งก๊ะเห็นเพื่อนบ้านรุ่นราวคราวเดียวกันกับสามี น้ำตาก็ไหลออกมาเองเพราะคิดถึงสามี”
คนคนนั้นคือนางซากียะห์ สะมาแอ สูญเสียนายสะตอปา เซ็งผู้เป็นสามีไป จากเหตุการณ์ลอบยิงที่หน้าบ้านตัวเองเมื่อเกือบหนึ่งปีที่ผ่านมา
ทว่ามีอีกคนหนึ่งซึ่งต้องผจญกับความความหวาดหวั่นแบบเดียวกับนายมามะอะตังต่างกันตรงที่ความหวาดหวั่นนี้ได้กลายเป็นความจริง
ผมไม่อยากไปยุ่งอีกแล้วผมเชื่อในอำนาจลึกลับของทางราชการ ว่าสามารถทำให้สิ่งที่ผิดเป็นถูกกฎหมายได้ตอนนี้ผมรู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิต เพราะมีคนถูกยิงมาแล้ว 1 ใน 58 คนที่ถูกฟ้องในคดีตากใบพวกเราก็รู้ว่า ตราบใดที่ศาลยังไม่ตัดสินคดีก็ถือว่าเรายังเป็นผู้บริสุทธิ์ แต่ว่ายังมีอำนาจหนึ่งที่น่ากลัวผมแค่รู้สึกเท่านั้น” เขาพูดด้วยน้ำเสียงหวั่นๆ ที่ซ่อนไว้ไม่มิด
ถามว่าคุ้มไหมกับค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีก็ไม่คุ้มเลย แต่เมื่อเจ้าหน้าที่ของรัฐกล่าวหาว่าเราเป็นผู้ร้าย เราก็ไม่ยอมเพราะเรามีความบริสุทธิ์ใจจริง เราไม่ได้ต่อสู้เพื่อความชนะแต่เราต่อสู้เพื่อความเป็นธรรม ที่เขากล่าวหาว่าเราเป็นผู้ร้ายบ้าง โจรบ้าง” เขากล่าวด้วยน้ำเสียงเหนื่อยหน่าย
พวกเราก็ต้องขึ้นศาลเป็นประจำ มันมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพของเรา แต่ก็ต้องทำใจ ยอมรับสภาพความเป็นจริงแต่ถ้าเป็นไปได้ อยากให้คดีจบเร็วๆ แต่ที่เราต้องต่อสู้ในกระบวนยุติธรรม ก็เพื่อพิสูจน์ความเป็นจริงว่าเป็นอย่างไร” นายหามิ สาเมาะพ่อผู้สูญเสียลูกชายไปในเหตุการณ์สลายการชุมนุมที่ตากใบ เผยความในใจกับเรา
หากคำพูดที่ว่า “ความยุติธรรมที่ล่าช้าก็คือความไม่ยุติธรรม” เป็นจริง สิ่งที่ชาวบ้านต้องการในเวลานี้คงไม่หนีไปจากคำพูดที่ว่า “เมื่อไหร่มันจะจบเสียที?”
นับแต่มีการสืบพยานครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2549 จนถึงวันนี้ที่ครบรอบ 2 ปีของเหตุการณ์ตากใบ จำนวนพยานโจทก์ 1937 ปาก และพยานจำเลย 98 ปากมีการสืบพยานโจทก์ไปทั้งสิ้นเพียง 3 ปากเท่านั้น
เป็นการยื่นคำร้องให้ศาลไต่สวนว่าผู้ตายคือใคร เหตุและพฤติการณ์ที่ตายคืออะไรใครทำให้ตาย หากเป็นการตายของบุคคลซึ่งอยู่ในความควบคุมของพนักงานเจ้าหน้าที่พนักงานเจ้าหน้าที่ทำไปโดยชอบหรือไม่โดยขณะนี้คดีได้ถูกโอนย้ายจากศาลจังหวัดปัตตานีไปยังศาลจังหวัดสงขลาส่วนความคืบหน้านั้นจะมีการสืบพยานแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านนิติวิทยาศาสตร์ในเดือนเมษายนปีหน้าที่ศาลจังหวัดนนทบุรีต่อจากนั้นก็จะมีการไต่สวนฝ่ายอัยการผู้ร้องและฝ่ายผู้ตายตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2550 เป็นต้นไป
ศพจำนวน 85 ราย คนพิการ ผู้สูญหายและชีวิตของญาติพี่น้องที่เหลืออยู่ข้างหลัง คือความสูญเสียที่มิอาจประเมินค่านำมาซึ่งคำถามและการค้นหาคำตอบ และแม้จะมีผลการสอบเบื้องต้นจากกรรมการชุดต่างๆออกมา ต้องยอมรับว่าผู้ที่จะตอบคำถามทุกฝ่ายในสังคมไทยได้ดีที่สุดก็คือ “กระบวนการยุติธรรม”
2 ปีที่ผ่านมาชีวิตที่เหลืออยู่ข้างหลังของชาวตากใบจึงต้องดำเนินไปพร้อมกับการเดินทางของ “ความยุติธรรม”
การเดินทางของ “ความยุติธรรม”
คำบอกเล่าของเขาสอดคล้องกับผลการสรุปของทางราชการที่ว่ากลุ่มคนที่ไปชุมนุมหน้า สภ.อ.ตากใบแบ่งได้ 3 ประเภท คือ ไทยมุง (มุสลิมมุง) ซึ่งตั้งใจจะไปดูเหตุการณ์, ชาวบ้านที่จะไปซื้อของที่ตลาดแล้วพลัดเข้าไปในที่เกิดเหตุ และกลุ่มชาวบ้านที่ไปเพื่อเรียกร้องให้ตำรวจปล่อยตัวชรบ. 6 คน
ในขณะที่ถูกนำตัวไปที่ค่ายอิงคยุทธนั้นผมอยู่ชั้นล่างสุด แต่โชคดีที่ไม่ได้รับบาดเจ็บ ไม่มีบาดแผล แหวนเสื้อผ้าก็ยังอยู่ครบ ทั้งที่ข้างๆ ตัวผม มีหลายคนที่ไม่มีลมหายใจไปแล้วลองคิดดูขนาดเราขึ้นรถโดยสารธรรมดาก็รู้สึกล่าช้าแล้วนับประสาอะไรกับคนที่นอนคว่ำไปนานๆ อากาศจะหายใจก็ไม่มีแถมข้างบนยังมีอีกหลายชั้นทับเราอยู่ เขาทำเหมือนกำลังขนย้ายวัตถุที่ไม่มีชีวิตจิตใจ ไม่ใช่คน” นายมามะอะตัง เซ็งโต๊ะวัย 25 ปี ชาวบ้านตากใบหนึ่งในผู้รอดชีวิตจาก “รถบรรทุกมรณะ” เล่าให้เราฟัง
เสียงปืนนั้นดังมากยังดังก้องอยู่ในหูของก๊ะนะวันนี้เลย สักพักทหารสั่งให้ผู้หญิงยืนขึ้นก๊ะนะก็ยืนขึ้น และตะโกนบอกว่า ผู้หญิงมาทางนี้ ทหารจะต้องไม่ยิงผู้หญิงหยุดได้สักพัก ก็ได้ยินเสียงปืนยิงเข้าหาพวกผู้ชายอีกรอบ พวกเราบางคนก็ตะโกนบอกว่าพอแล้ว เด็กๆที่อยู่ข้างเราร้องไห้พร้อมกับตะโกนบอกให้ทหารพอแล้ว!”
ก๊ะนะยังจำได้เสมอไม่เคยลืม เพราะวันนั้นก๊ะนะก็อยู่ในเหตุการณ์ด้วย ที่จริงก็ไม่ได้รู้เรื่องอะไรหรอกเขาบอกว่ามีการชุมนุมกันที่อำเภอตากใบ กะนะก็ไป เพราะชอบอยู่แล้ว งานเด็กๆแข่งขันฟุตบอลก๊ะนะก็ไป เพราะก๊ะนะชอบ วันนั้นพอพวกเจ้าหน้าที่ยิงปืนกะนะก็หมอบหลบอยู่ใต้เท้าของพวกผู้ชาย” ก๊ะนะย้อนเหตุการณ์วันนั้นให้เราฟัง
ย้อนกลับไปเมื่อสองปีที่แล้ว ในวันที่ 25 ตุลาคม บริเวณสภ.อ.ตากใบ ซึ่งแม่น้ำชราสายนี้ไหลผ่าน มีโศกนาฏกรรมครั้งใหญ่เกิดขึ้นซึ่งไม่เพียงแต่สะเทือนใจผู้ได้รับรู้เรื่องราวเท่านั้นหากมันยังสั่นคลอนจิตวิญญาณของสังคมไทย ด้วยการสลายการชุมนุมที่หน้า สภ.อ.ตากใบในวันปอซอ ส่งผลให้ชาวบ้านตากใบผู้สูญเสียญาติพี่น้องที่รักไปในที่เกิดเหตุ 7 คนและอีก 78 คน ที่หมดลมหายใจในระหว่างถูกเคลื่อนย้ายจาก สภ.อ.ตากใบ จ.นราธิวาสมายังค่ายอิงคยุทธบริหาร จ.ปัตตานี
หรือ “ก๊ะนะ” ของชาวบ้านตากใบ ถอนหายใจก่อนละสายตาจากแม่น้ำสายชรานางเพิ่งจะพูดคำว่า “เมื่อสองปีก่อน” แต่ร่องรอยในแววตาบ่งบอกความรู้สึกของนางว่าเหมือนเหตุการณ์เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อวาน...
“