ชายแดนใต้โพล By YRU โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาชายแดนภาคใต้ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้เผยผลสำรวจ เรื่อง ความคิดเห็นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของ คสช. กับการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา ทำการเก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 24 - 26 พฤษภาคม 2559 จากประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส) ทั้ง 33 อำเภอ และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา (จะนะ นาทวี เทพา สะบ้าย้อย) กระจายทุกระดับการศึกษาและอาชีพ จำนวน 1,480 กลุ่มตัวอย่าง
ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 55.9 เป็นเพศชาย ร้อยละ 44.1 เป็นเพศหญิง กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 31.8 อายุ 31-40 ปี ร้อยละ 24.2 อายุ 20-30 ปี ร้อยละ 22.9 อายุ 41-50 ปี ร้อยละ 14.5 อายุ 51 ปี ขึ้นไป ร้อยละ 6.6 อายุต่ำกว่า 20 ปี และกลุ่มตัวอย่างร้อยละ 68.2 นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 31.3 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 0.5 นับถือศาสนาคริสต์ กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 29.9 กลุ่มชาวบ้านทั่วไป ร้อยละ 4.9 กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน/คณะกรรมการหมู่บ้าน ร้อยละ 5.4 กลุ่มนายก/สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล ร้อยละ 5.5 กลุ่มข้าราชการครู ร้อยละ 4.9 กลุ่มข้าราชการท้องถิ่น ร้อยละ 5.2 กลุ่มเจ้าหน้าที่สาธารณะสุข ร้อยละ 4.9 กลุ่มตำรวจ ร้อยละ 4.8 กลุ่มทหาร ร้อยละ 5.3 กลุ่มสมาชิกกองอาสารักษาดินแดน (อส.) ร้อยละ 5.2 กลุ่มค้าขาย ร้อยละ 5.0 กลุ่มแม่บ้าน ร้อยละ 4.8 กลุ่มเยาวชน (14-18 ปี) ร้อยละ 4.9 กลุ่มนักศึกษา (18 ปีขึ้นไป – 24 ปี) ร้อยละ 4.6 กลุ่มผู้นำ/คณะกรรมการศาสนาอิสลาม ร้อยละ 4.7 กลุ่มผู้นำ/คณะกรรมการศาสนาพุทธ กลุ่มตัวอย่างมีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดนราธิวาส ร้อยละ 35.3 จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 32.3 จังหวัดยะลา ร้อยละ 21.7และร้อยละ 10.7 มีภูมิลำเนาอยู่ใน 4 อำเภอจังหวัดสงขลา (จะนะ นาทวี เทพา สะบ้าย้อย)
ผลการสำรวจความคิดเห็นมีทั้งหมด 8 ข้อดังนี้
1. ความรุนแรงในพื้นที่ลดลง พบว่า ร้อยละ 63.6 เห็นด้วย ร้อยละ 16.2 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 18.2 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 2.0 ไม่ทราบ
2. คุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ดีขึ้น พบว่า ร้อยละ 33.9 เห็นด้วย ร้อยละ 12.4 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 51.3 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 2.4 ไม่ทราบ
3. ความร่วมมือกับภาครัฐมากขึ้น พบว่า ร้อยละ 68.2 เห็นด้วย ร้อยละ 12.6 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 13.1 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 6.1ไม่ทราบ
4. การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเข้าใจ พบว่า ร้อยละ 67.2 เห็นด้วย ร้อยละ 14.5 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 11.7 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 6.6 ไม่ทราบ
5. คนนอกพื้นที่รับรู้ข้อมูลในพื้นที่มากขึ้น พบว่า ร้อยละ 43.1 เห็นด้วย ร้อยละ 24.6 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 19.9 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 12.4 ไม่ทราบ
6. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น พบว่า ร้อยละ 44.4 เห็นด้วย ร้อยละ 25.5 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 25.2 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 4.9ไม่ทราบ
7. ความโปร่งใสในการใช้อำนาจ ความยุติธรรมและเยียวยามีมากขึ้น พบว่า ร้อยละ 48.6 เห็นด้วย ร้อยละ 22.2 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 18.7 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 10.5 ไม่ทราบ
8. การส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมดีขึ้น พบว่า ร้อยละ 78.5 เห็นด้วย ร้อยละ 10.1 ไม่แน่ใจ ร้อยละ 6.5 ไม่เห็นด้วย และร้อยละ 4.9 ไม่ทราบ
9. ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบของ คสช. ร้อยละ 71.2
10. ความพึงพอใจในผลงานภาพรวมของ คสช. ในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา ร้อยละ 72.0
ข้อมูลทั่วไป
รายการ |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
1. เพศ |
|
|
ชาย |
828 |
55.9 |
หญิง |
652 |
44.1 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
2. อายุ |
|
|
ต่ำกว่า 20 ปี |
98 |
6.6 |
20-30 ปี |
357 |
24.2 |
31-40 ปี |
471 |
31.8 |
41-50 ปี |
339 |
22.9 |
51 ปี ขึ้นไป |
215 |
14.5 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
3. กลุ่ม |
|
|
ชาวบ้านทั่วไป |
442 |
29.9 |
ผู้ใหญ่บ้าน/คณะกรรมการหมู่บ้าน |
72 |
4.9 |
นายก/สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล |
80 |
5.4 |
ข้าราชการครู |
82 |
5.5 |
ข้าราชการท้องถิ่น |
72 |
4.9 |
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข |
77 |
5.2 |
ตำรวจ |
73 |
4.9 |
ทหาร |
71 |
4.8 |
สมาชิกกองอาสารักษาดินแดน (อส.) |
79 |
5.3 |
ค้าขาย |
77 |
5.2 |
แม่บ้าน |
74 |
5.0 |
ข้อมูลทั่วไป (ต่อ)
รายการ |
จำนวน (คน) |
ร้อยละ |
3. กลุ่ม (ต่อ) |
|
|
เยาวชน (14-18 ปี) |
71 |
4.8 |
นักศึกษา (18 ปีขึ้นไป - 24 ปี) |
72 |
4.9 |
ผู้นำ/คณะกรรมการศาสนาอิสลาม |
68 |
4.6 |
ผู้นำ/คณะกรรมการศาสนาพุทธ |
70 |
4.7 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
4. ศาสนา |
|
|
อิสลาม |
1005 |
68.2 |
พุทธ |
460 |
31.3 |
คริสต์ |
8 |
0.5 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
5.สถานะทางการศึกษา |
|
|
ไม่ได้เรียนหนังสือ |
30 |
2.0 |
ประถมศึกษา |
354 |
23.9 |
มัธยมศึกษาตอนต้น |
206 |
13.9 |
มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. |
260 |
17.7 |
อนุปริญญา/ปวส. |
76 |
5.1 |
ปริญญาตรี |
530 |
35.8 |
ปริญญาโท |
24 |
1.6 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
6. ภูมิลำเนา |
|
|
จังหวัดนราธิวาส |
522 |
35.3 |
จังหวัดปัตตานี |
478 |
32.3 |
จังหวัดยะลา |
321 |
21.7 |
4 อำเภอจังหวัดสงขลา (จะนะ นาทวี เทพา สะบ้าย้อย) |
159 |
10.7 |
รวม |
1,480 |
100.00 |
ผลการสำรวจ
เรื่อง ความคิดเห็นของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของ คสช. กับการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา
ประเด็น |
ความคิดเห็น |
|||
เห็นด้วย (ร้อยละ) |
ไม่แน่ใจ (ร้อยละ) |
ไม่เห็นด้วย (ร้อยละ) |
ไม่ทราบ (ร้อยละ) |
|
ความรุนแรงในพื้นที่ลดลง |
63.6 |
16.2 |
18.2 |
2.0 |
คุณภาพชีวิต สภาพเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ดีขึ้น |
33.9 |
12.4 |
51.3 |
2.4 |
ความร่วมมือกับภาครัฐมากขึ้น |
68.2 |
12.6 |
13.1 |
6.1 |
การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเข้าใจ |
67.2 |
14.5 |
11.7 |
6.6 |
คนนอกพื้นที่รับรู้ข้อมูลในพื้นที่มากขึ้น |
43.1 |
24.6 |
19.9 |
12.4 |
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมากขึ้น |
44.4 |
25.5 |
25.2 |
4.9 |
ความโปร่งใสในการใช้อำนาจ ความยุติธรรมและเยียวยา มีมากขึ้น |
48.6 |
22.2 |
18.7 |
10.5 |
การส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและศิลปวัฒนธรรมดีขึ้น |
78.5 |
10.1 |
6.5 |
4.9 |
ผลการสำรวจ (ต่อ)
ประเด็น |
ร้อยละ |
ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบของ คสช. |
71.2 |
ความพึงพอใจในผลงานภาพรวมของ คสช. ในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา |
72.0 |