พลังประชาชน สร้างสันติภาพ ไร้ความรุนแรง
รายงานโดย อิมรอน ซาเหาะ นักข่าวพลเมือง โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้
22 ก.ค 2559 กลุ่มภาคประชาสังคมที่ขับเคลื่อนงานสันติภาพในพื้นที่ชายแดนใต้ได้ร่วมรับฟังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากประสบการณ์ เรื่องการปกป้องพลเรือน การลดความรุนแรงและการสร้างพื้นที่ปลอดภัยโดยการมีส่วนร่วมของประชาชนจากบทเรียนและการปฏิบัติการในพื้นที่ความขัดแย้ง ผ่านวงเสวนาแลกเปลี่ยนการทำงานของพลังประชาชนจากประเทศฟิลิปปินส์ เมียนมา และจังหวัดชายแดนใต้ของไทย
เหตุปะทะระหว่างการเจรจา: ทางตันหรือบททดสอบของกระบวนการสันติภาพมินดาเนา?
ข่าว 3 มิติ: บทเรียนสันติภาพมินดาเนา
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จัดบรรยายทางวิชาการเรื่อง “เมื่อทหารทำงานสันติภาพ: บทเรียนและประสบการณ์จากมินดาเนา” โดยโฆษกกองพลทหารราบที่ 6 กองทัพบกฟิลิปปินส์ ซึ่งเห็นว่า การแก้ปัญหาความขัดแย้งต้องเอาชนะด้วยสันติภาพไม่ใช่การใช้อาวุธ และการพูดคุยกับกลุ่มคิดต่างจะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการสร้างสันติภาพ ติดตามรายงานจากคุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย
วิจารณ์หนังสือ "บทเรียนสันติภาพ : เรียนรู้กระบวนการสันติภาพในประสบการณ์ความขัดแย้งร่วมสมัย"
ชื่อหนังสือ “บทเรียนสันติภาพ : เรียนรู้กระบวนการสันติภาพในประสบการณ์ความขัดแย้งร่วมสมัย” (Experiences of Peacebuilding : Learning the peace process in contemporary conflicts)
เนื้อหาโดย แอนเดรีย เค. โมลนาร์, ซูซาน ดี. รัสเซล, ไอแซค เคน, ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี, โนอาห์ ซาลาเมห์, พิษณุ สรรพโกตา, นอร์เบิร์ต โรเปอร์ส
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง : ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (จบ)
ศราวุฒิ อารีย์
ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา
เขตปกครองตนเองในทางปฏิบัติ
คงไม่เป็นที่สงสัยว่า การเจรจาที่นำไปสู่การทำสนธิสัญญาสันติภาพในปี 1996 จนก่อให้เกิดการจัดตั้งเขตปกครองพิเศษ นับเป็นความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของฟิลิปปินส์และชาวโมโรมุสลิม แต่ถึงกระนั้นก็ตามในความปลื้มปิติยินดี นักสังเกตการณ์หลายคนก็มักมองข้ามข้อจำกัดในสนธิสัญญาดังกล่าว ซึ่งอาจแยกวิเคราะห์เป็นประเด็นดังนี้
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง: ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (2)
ศราวุฒิ อารีย์
ศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา
โมโรมุสลิมและเขตปกครองตนเอง : ประสบการณ์จากฟิลิปปินส์ (1)