ความขัดแย้งชายแดนใต้ในรอบ 13 ปี: ความซับซ้อนของสนามความรุนแรงและพลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ.ปัตตานี
เอกสาร 28 กุมภาฯ กับเหตุผลที่ “บีอาร์เอ็น” ต้องปรับ
รอมฎอน ปันจอร์
ย้อนกลับไป 4 ปีที่แล้ว วันๆ นี้ (28 กุมภาพันธ์) เป็นวันสำคัญที่เป็นหมุดหมายสำคัญของความขัดแย้งในชายแดนใต้/ปาตานี เพราะเมื่อตัวแทนของรัฐบาลไทย (เลขาธิการ สมช. สมัยนั้น) กับตัวแทนของบีอาร์เอ็นลงนามในเอกสารชิ้นเล็กๆ ขนาดความยาวเพียงสองสามย่อหน้าว่าจะเดินหน้าการพูดคุยสันติภาพ ลายเซ็นของสองคนนั่นและตราประทับหน่วยงานปรากฎขึ้นพร้อมๆ กัน มีการลงนามกำกับโดยเลขาธิการ สมช.มาเลเซียในฐานะประจักษ์พยาน
เรื่องแบบนี้ไม่เคยปรากฎมาก่อน อาจจะมีการพูดคุยสันติภาพอยู่บ้างในทางลับก่อนหน้านี้ แต่แบบแผนของสิ่งที่เกิดขึ้นและที่ตามมาตลอด 4 ปีมานี้ก็แตกต่างอย่างสำคัญ
ความยุติธรรมเพื่อการเปลี่ยนผ่านควรมีบทบาทอย่างไรในชายแดนใต้
วาทกรรมสื่อมวลชนในกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี
‘ศรีสมภพ’ ประเมินเหตุรุนแรงที่กลับมาอีกระลอก ชี้ ‘พูดคุยสันติภาพต้องเดินต่อ’
เหตุคนร้ายวางระเบิดกลางเมืองนราธิวาส 3 ลูกติด ส่อกระแสรุนแรงต่อเนื่องในพื้นที่ ด้าน ‘ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี’ ชี้คือส่วนหนึ่งที่กร
ข่าว 3 มิติ: บทเรียนสันติภาพมินดาเนา
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จัดบรรยายทางวิชาการเรื่อง “เมื่อทหารทำงานสันติภาพ: บทเรียนและประสบการณ์จากมินดาเนา” โดยโฆษกกองพลทหารราบที่ 6 กองทัพบกฟิลิปปินส์ ซึ่งเห็นว่า การแก้ปัญหาความขัดแย้งต้องเอาชนะด้วยสันติภาพไม่ใช่การใช้อาวุธ และการพูดคุยกับกลุ่มคิดต่างจะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการสร้างสันติภาพ ติดตามรายงานจากคุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย
กระบวนการสันติภาพในมุมมองของข้าราชการ (2)
ที่มา http://pataniforum.com/patani_cafe_detail.php?patani_cafe_id=19
หมายเหตุ : บทความชิ้นนี้ได้นำมาจาก "บทสนทนาในห้วงยามเปลี่ยน(ไม่)ผ่าน" กระบวนการสันติภาพในมุมมองของข้าราชการ ในวันที่ 11 เม.ย. 2556 ณ ร้านบูคู ปัตตานี