Skip to main content
 
 
หนังสือ
กระบวนการสร้างสันติภาพในอาเจะห์
Making Peace: Ahtisaari and Aceh
 
โดย
Katri Merikallio
 
แปลและเรียบเรียงโดย
บุรฮานุดดีน อุเซ็ง
 
เผยแพร่ครั้งแรกเป็นตอนใน
เว็บไซต์มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
 
 
 
0. หน้าปกและสารบัญ
 
1. เอกสารลำดับที่  1757-25-08-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาเจะห์: จากคลื่นยักษ์สึนามิ ถึงการเริ่มต้นเจรจาที่กรุงเฮลซิงกิ.
- คำนำผู้เขียน
บทที่ 1.คลื่นยักษ์สึนามิ วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม 2004 (พ.ศ.2547)
บทที่ 2.โหมโรง: การเจรจาสันติภาพ รอบแรก
- น้อมรับในชะตากรรม
- เข้าใจจุดยืน สู่การแก้ไขปัญหาหรือสูญเปล่า
                                   
2. เอกสารลำดับที่  1758-25-08-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาเจะห์: อำนาจเปลี่ยนแปลงในจาการ์ต้า ถึงขบวนการอาเจะห์เสรี
บทที่ 3.โหมโรงชั่วคราว
- ภาษาเดี่ยวกันสู่ความไว้วางใจกัน
            - ฟาริด มุ่งสู่กรุงสต๊อคโฮล์ม
            - อำนาจเปลี่ยนแปลงในกรุงจาการ์ตา
            - เชื่อเราซิ
 
3. เอกสารลำดับที่  1759-25-08-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาเจะห์: คนกลางต้องเป็นผู้ที่มีบารมีเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้
บทที่ 4. วิกฤต: การเจรจาสันติภาพ รอบที่สองวัน
-ไม่มีเวลาจะให้สูญเปล่าอีก
- เพียงแค่ถ้อยคำ
-เริ่มต้นอีกครั้งในวันใหม่
- มอบหมายการบ้าน
บทที่ 5.ทำไมข้อตกลงยุติความเป็นปรปักษ์ล้มเหลว
-คนกลางต้องเป็นผู้ที่มีบารมีเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือได้
 
4. เอกสารลำดับที่  1760-25-08-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาเจะห์: เราไม่อาจแบกภาระความชั่วร้ายของโลกทั้งใบ
บทที่  6.ปรมาจารย์ อะห์ติซาริ
            -จะต้องมองภาพรวมตั้งแต่เริ่มต้น
            -มีมีการตกลงใดๆ จนกว่าทุกอย่างจะมีความเห็นสอดคล้อง
            -มีมีการเปลี่ยนม้ากลางศึก
บทที่ 7 เหนื่อย ! สู้ไปก็ไม่มีผู้ใดชนะ.
            -ความต้องการของชาวบ้านเป็นเรื่องปกติ
            -ทหารจำนวน 40,000 คนในจังหวัดอาเจะห์
-คลื่นยักษ์สึนามินำชาวต่างประเทศเข้ามายังจังหวัดอาเจะห์
            -ฝันร้ายแห่งสันติภาพ
            -เราคือรัฐบาลที่ชอบธรรม เราจึงมีสิทธิเก็บภาษีจากประชาชน  
-ความร่ำรวยที่ลำเค็ญ
บทที่ 8 ฝ่าวิกฤติ การเจรจาสันติภาพ รอบที่สาม
            -เปลี่ยนคนเจรจาทั้งสองฝ่าย
            -ใครคือผู้ที่เราควรเจรจาด้วย?
            -ทรัพยากรธรรมชาติของอาเจะห์ตกอยู่กับรัฐบาลอินโดนีเซียและอเมริกัน
            -ข้อเสนอการปลดอาวุธ
            -มีอาวุธในมือทำให้อาจจะยิงได้ทุกเวลา
 
5. เอกสารลำดับที่  1761-07-09-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาจะห์: นับแต่นี้ ไม่มีการแสวงหาเอกราชอาเจะห์อีกต่อไป
บทที่ 9 กรุงบรัซเซลล์เข้ามาเกี่ยวข้อง
            -คำถามเปิด
            -มาร์ตติ อะห์ติซาริเดินหน้าปฏิบัติภารกิจ
บทที่ 10 ล้มเลิกเป้าหมายแบ่งแยกดินแดน
 
6.เอกสารลำดับที่  1763-25-08-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาจะห์: ภาพพจน์ทหาร-ภารกิจหนักที่ต้องเร่งรัด
บทที่ 11 ภารกิจหนักที่ต้องเร่งรัด การเจรจาสันติภาพรอบที่สี่
            -คู่เจรจาทั้งสองฝ่ายเริ่มมีการเจรจาตามลำดับเอกสารอย่างเป็นขั้นเป็นตอน
            -โลกในอุดมคติไม่มี มีแต่ความเป็นจริง
            -เสรีภาพของสื่อที่จะเข้าถึงอาเจะห์เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก
            -การทดสอบกระบวนการของนายปีเตอร์ เพธ
บทที่ 12 การเดินทางไปแสวงหาข้อเท็จจริงในอาเจะห์.
บทที่ 13 ร่างข้อตกลงขั้นสุดท้าย.
บทที่ 14 ผลักดันอีกครั้ง : การเจรจาสันติภาพรอบที่ห้า
            -ภาพพจน์ทหาร
            -พรรคการเมืองท้องถิ่น : จะพิจารณา หรือละเว้น?
            -ประสานงานฝ่ายทหาร
            -ถ้อยคำที่ถูกต้อง
            -เป็นไปไม่ได้
            -ไม่ใช่กงการอะไรของเราหรือของท่าน
            -ยังมีอีกหนึ่งปัญหา
 
7.เอกสารลำดับที่  1763-11-09-2552 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน
สันติภาพในอาเจะห์: ลงนามสัญญาสันติภาพที่สโมลนา-ความปิติยินดีในบันดาร์อาเจะห์
บทที่ 15 ลุยป่าอาเจะห์
-เครื่องหมายกากบาดสีขาว
-กลุ่มประเทศอาเซียนเข้ามาร่วม
บทที่ 16 ความสับสนนาทีสุดท้าย
บทที่ 17 การลงนามในสัญญาสันติภาพที่สโมลนา
-ความชื่นชมและปิติยินดีในบันดาร์อาเจะห์