Skip to main content

เมื่อก้าวข้ามหนึ่งร้อยเดือนของสถานการณ์จังหวัดชายแดนใต้: เรากำลังจะไปทางไหน?

 
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ. ปัตตานี
 

PATANI MERDEKA บนท้องถนน

ตูแวดานียา ตูแวแมแง
 
 
ตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยเมื่อปี 2547 จนถึงปัจจุบัน ข้อมูลจาก Deep South Watch ระบุว่ายอดเสียชีวิตจากเหตุการณ์โดยเฉลี่ยประมาณ 2 คนต่อวัน
 

รายงานสำนักข่าวอิศรา: "3 ทฤษฎีสู่เจรจาสันติภาพดับไฟใต้" ประเด็นท้าทายว่าที่รัฐบาลใหม่ป้ายแดง

หมายเหตุ: เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคมที่ผ่านมา กลุ่มบุหงารายาและมูลนิธิผสานวัฒนธรรมได้ร่วมกันจัดกิจกรรมเวทีความรู้ครั้งที่ 1 หัวข้อ “กระบวนการสันติภาพ เริ่มต้นอย่างไร?” ขึ้นที่ มอ.ปัตตานี (คลิกดูกำหนดการ) โดยมี ดร.นอร์เบิร์ท รอปเปอร์ส ผู้อำนวยการมูลนิธิสนับสนุนสันติภาพเบิ

ไฟใต้หลังเลือกตั้ง (1): รัฐบาลใหม่กับ 3 ประเด็นใหญ่ใน ‘กระบวนการสันติภาพ’

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW)
 
 
          การเลือกตั้งที่เพิ่งผ่านพ้นไปดูจะสำคัญโดดเด่นกว่าการเลือกตั้งหลายครั้งที่ผ่านมาหลายประการ เพราะในด้านหนึ่งมันเกิดขึ้นในท่ามกลางความขัดแย้งทางการเมืองระดับชาติชนิดที่สังคมการเมืองไทยไม่เคยประสบมาก่อน ผู้กำชัยชนะที่สามารถจัดตั้งรัฐบาลขึ้นมาบริหารการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จึงถูกคาดหวังทั้งให้ทำและไม่ทำบางอย่างจากแทบทุกฝ่าย
 
Subscribe to การกระจายอำนาจ