Skip to main content

การเมืองนำประชาธิปัตย์ นโยบายดับไฟใต้ที่ไม่มีอะไรพิเศษ

มาร์ค แอสคิว
นักวิจัยอาวุโส สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

การเมืองต้องนำการทหาร [4] : บทวิพากษ์

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

ปฏิกิริยาทางความคิดต่อ “รายงานปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : บทวิเคราะห์และแนวทางการแก้ปัญหาเชิงรุกที่ยั่งยืนด้วยสันติวิธี” ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ ๑ สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ซึ่งนำเสนอในเวทีวิชาการ “การเมืองต้องนำการทหาร” เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา

การเมืองต้องนำการทหาร [3] : มุมวิจารณ์จากเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติ

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

          ในขณะที่การนำเสนอในวงสัมมนานำพาเราสู่ข้อเสนอที่ท้าทายหลายประการ ทว่าในมุมมองของผู้กุมและหยิบใช้อำนาจรัฐอยู่ในระดับปฏิบัติการกลับมองเห็น แง่มุมที่แตกต่างกันไป

 

การเมืองต้องนำการทหาร [2] : เครือข่ายสันติภาพ ประชาสังคมและสื่อสารสันติ

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

           นอกจากประเด็นการเมืองนำการทหารและประเด็น Peace Talk แล้ว วงสัมมนา “การเมืองต้องนำการทหาร : ทิศทางการแก้ไขปัญหาภาคใต้สู่ความยั่งยืน” เมื่อวันที่ 30 มิถุนายนที่ผ่านมา ยังเริ่มต้นด้วยการนำเสนออีก 3 ประเด็นหลักเพื่อเป็นตัวตั้งในการพูดคุย แม้ว่าหลายข้อเสนอในที่นี้จะฟังดูคุ้นหู ทว่าการผลักดันในพื้นที่ใหม่และบริบทที่เปลี่ยนไปจากเดิมเช่นนี้ก็น่าจับตาไม่น้อย

 

การเมืองต้องนำการทหาร [1] : แนวทางที่ควรเป็นกับการพูดคุยที่ไว้วางใจ

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

           เมื่อวันที่ 30 มิถุนายนที่ผ่านมา ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ร่วมกับสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเวทีสัมมนาวิชาการหัวข้อ “การเมืองต้องนำการทหาร : ทิศทางการแก้ไขปัญหาภาคใต้สู่ความยั่งยืน” ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความเคลื่อนไหวทางความคิดสำคัญในพื้นที่สาธารณะถกเถียงถึงแนวทางการคลี่คลายความขัดแย้งที่ชายแดนภาคใต้อันควรจะเป็น