Skip to main content

เมื่อเสาหลักครอบครัวโดนคุมขังคดีความมั่นคง

‘อสนียาพร นนทิพากร’

ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เกิดจากการก่อเหตุสร้างสถานการณ์ของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบสิบกว่าปีที่ผ่านมา ได้สร้างผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และสถาบันครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยเฉพาะผู้บริสุทธิ์ที่ถูกกระทำต้องบาดเจ็บล้มตาย บางรายถึงกับพิการตกเป็นภาระครอบครัว บุคคลเหล่านี้ถึงแม้จะได้รับการดูแลเยียวยาจากทุกภาคส่วนแล้ว แต่ในความเป็นจริงสภาพจิตใจยังคงย่ำแย่เสมือนหนึ่งเพิ่งผ่านจากเหตุฝันร้ายมาสดๆ ร้อนๆ

ความยุติธรรมเพื่อการเปลี่ยนผ่านควรมีบทบาทอย่างไรในชายแดนใต้

เขียนโดย
แพทริค แบรอน
ผู้อำนวยการภูมิภาค โครงการความขัดแย้งและการพัฒนา มูลนิธิเอเชีย
 
แปลโดย
ศศิวรรณ จริงจิตร
สันติ นิลแดง
เจ้าหน้าที่โครงการ มูลนิธิเอเชีย
 

แถลงการณ์สามฉบับ: การเยียวยา, พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ และการกระจายอำนาจ

 
หมายเหตุ: แถลงการณ์ทั้ง 3 ฉบับดังต่อไปนี้ ประธานและสมาชิกสภาประชาสังคมชายแดนใต้ได้ร่วมกันแถลงในเวทีสมัชชาปฏิรูปชายแดนใต้ ครั้งที่ 1 “ชายแดนใต้ไม่ทอดทิ้งกัน” ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 4 – 5 มกราคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา