Skip to main content

มุสลิมไทยไม่ได้ขาดคนรู้(อูลามะ) แต่เราขาดการจัดการองค์ความรู้ บทเรียนกรณี"ห้องเรียนเพศวิถี"

"...อิสลามไม่ได้แยกระหว่างทางโลกทางธรรม อิสลามไม่ได้แยกระหว่าง ร่ายกาย ภายนอก (Body) และ จิตวิญญาน ภายใน(Soul) อิสลามไม่ได้แยกระหว่าง church กับ state นั่นคือ ไม่ได้แยกอาณาจักรกับศาสนาจักร..." ศ.ดร.จรัญ มะลูลีม 

 

เหตุผลที่บีอาร์เอ็นควรปรับ (อีกเรื่องที่สำคัญ)

รอมฎอน ปันจอร์

เรื่องสำคัญที่ว่าก็คือวิธีที่ความรุนแรงทางการเมืองที่นี้ถูกจับตา เฝ้าดู และมอนิเตอร์จากโลก ซึ่งในสายตาของพวกเขานั้น ขบวนการปลดปล่อยปาตานีที่นำโดยบีอาร์เอ็นขณะนี้อยู่ที่ใด

เหตุไม่สงบชายแดนใต้ นัยความต่างของรอมฏอนในปีที่ไร้ข้อตกลงยุติความรุนแรง

ในช่วง 10 คืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอนโดยเฉพาะเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว พบว่าสถิติของสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้มีความถี่ค่อนข้างสูง แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาหลังจากที่มีการพูดคุยสันติภาพโดยเริ่มตั้งแต่ปี 2556 และ 2557 ซึ่งช่วงนั้นได้เริ่มกระบวนการพูดคุยฯ โดยใช้เดือนรอมฎอนเป็นข้อตกลงร่วมกันอย่างลับๆ ว่าจะยุติความรุนแรงจากทั้งสองฝ่าย

4 เงื่อนไขโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพากับภัยแทรกซ้อนใหม่ต่อสันติสุขชายแดนใต้

4 เงื่อนไขโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพากับภัยแทรกซ้อนใหม่ต่อสันติสุขชายแดนใต้

นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ

ผศ.ศรีสมภพ ชี้คนรุ่นใหม่ชายแดนใต้ยังไม่มีเงื่อนไขใช้ความรุนแรงขานรับ ISIS

ทีมข่าวพลเมืองภาคใต้ สัมภาษณ์ ผศ.ดร.ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี ผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ในประเด็นการขยายแนวคิดสุดโต่ง

บันทึกครบรอบสามเดือนทุ่งยางแดง

เมื่อเหตุการณ์ความรุนแรงที่ทุ่งยางแดง จ. ปัตตานีหลังจากความรุนแรงผ่านไป 3  เดือน

โดย กลุ่มด้วยใจ

26 มิถุนายน 2558

แนะนำหนังสือภาษาไทย(5) : ความรุนแรงกับการจัดการ “ความจริง” ปัตตานีในรอบกึ่งศตวรรษ และความรุนแรงซ่อนหาสังคมไทย

แนะนำโดย ซุกกรียะห์ บาเหะ
ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ
 
 
ชื่อหนังสือ : ความรุนแรงกับการจัดการ “ความจริง” ปัตตานีในรอบกึ่งศตวรรษ
ผู้เขียน : ชัยวัฒน์ สถาอานันท์