Skip to main content

ชายแดนใต้/ปาตานี 2547-2564: ก้าวเข้าปีที่สิบเก้า สันติภาพจะเดินหน้าไปถึงไหนในปี 2565?

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้
สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

อัฟฮัม เจ๊ะมามะ ผู้ริเริ่ม Senior Sharing “เพราะเด็กเก่งชายแดนใต้มีมาก แต่เรียนต่อน้อย”

โดย อาคิรา ริวโอ 

เพราะเด็กเก่งในชายแดนใต้มีมาก แต่เรียนต่อน้อย อัฟฮัม เจ๊ะมามะ นักศึกษาชั้นปี 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จึงจัดโครงการติวเพื่อน้องๆนักเรียนในชายแดนภาคใต้ ในฐานะประธานโครงการ “Senior sharing พาน้องพิชิตฝัน”

เสวนาโต๊ะกลมงานไทยศึกษา ครั้งที่ 13 การบ่มเพาะตนเพื่อเป็น “มุสลิมที่ดี” และการแสวงหา “ชีวิตที่ดีกว่า” ผ่านการศึกษาแบบเป็นทางการ

ขอเชิญเข้าร่วมงานเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ

การบ่มเพาะตนเพื่อเป็น “มุสลิมที่ดี” และการแสวงหา “ชีวิตที่ดีกว่า” ผ่านการศึกษาแบบเป็นทางการ: การดิ้นรนและการริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านการศึกษาของชาวมลายูมุสลิมชายแดนใต้

(Cultivating ‘Good Muslims’ and Seeking ‘a Better Life’ through Formal Education: Struggles and Initiatives in Education of Malay Muslims of Southern Thailand)

10 องค์กร แถลงประณาม เหตุระเบิดหน้า รร.ตาบา จ.นราธิวาส

จากเหตุการณ์รถจักรยานยนต์บอม ในช่วงเช้าของวันที่ 6 กันยายน 2559 ที่บริเวณหน้าโรงเรียนตาบา บ้านตาบา ม.1 ต.เจ๊ะเห อ.ตากใบ จ.นราธิวาส มีผู้เสียชีวิต 3 ราย เป็นเด็กนักเรียนหญิง กับบิดา และมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีก 7 ราย ทราบชื่อ ด.ญ.มิตรา เวาะบะ นักเรียนโรงเรียนตาบา นายมะเย็ง เวาะบะ สองพ่อลูก ผู้ได้เสีย อีกคนคือนายตัลมีซี มะดาโอ๊ะ พ่อค้าขายขนมหน้าโรงเรียน ถูกสะเก็ดระเบิดที่ศีรษะอาการสาหัส เสียชีวิตแล้วที่โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ และมีผู้ได้รับบาดเจ็บอีก 7 ราย ได้แก่ ร.ต.ต.ประพิศ บุญสร้าง, ด.ต.กิตติพงษ์ ศรีขำ, ส.ต.ต.วรรณุชิต แซ่ค้อ, ส.ต.ต.เตาฟิค อารง, น.ส.นูรไอนี ยูโซ๊ะ อายุ 25 ปี, นายรัสดี มะแอ

เหตุไม่สงบชายแดนใต้ นัยความต่างของรอมฏอนในปีที่ไร้ข้อตกลงยุติความรุนแรง

ในช่วง 10 คืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอนโดยเฉพาะเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว พบว่าสถิติของสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้มีความถี่ค่อนข้างสูง แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาหลังจากที่มีการพูดคุยสันติภาพโดยเริ่มตั้งแต่ปี 2556 และ 2557 ซึ่งช่วงนั้นได้เริ่มกระบวนการพูดคุยฯ โดยใช้เดือนรอมฎอนเป็นข้อตกลงร่วมกันอย่างลับๆ ว่าจะยุติความรุนแรงจากทั้งสองฝ่าย

ชุมคน ชุมชน คนใต้: สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตที่ควรจะเป็น

29 มิ.ย. 2559 ในงาน “จับปลาต้องลงน้ำ: 30 ปี กับบทเรียนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนภาคใต้” ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา บนเกาะยอกลางทะเลสาบสงขลา อ.เมือง จ.สงขลา โดยจะมีนักพัฒนาเอกชน (NGOs) แกนนำชุมชน ภาคประชาสังคม นักวิชาการ นักศึกษา ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิลปินเพื่อสังคม สื่อมวลชนในภาคใต้ และส่วนหนึ่งจากทั่วประเทศเข้าร่วมประมาณ 300 คน

‘ฮิวแมนไรต์วอทช์’ ย้อนรอยเหตุปะทะ ‘รพ.เจาะไอร้อง’ ผ่านกฎหมาย IHL

กว่าสามสัปดาห์ (13 มี.ค.2559) ภายหลังการเผชิญหน้ากันระหว่างผู้ก่อเหตุการณ์ความไม่สงบยิงปะทะใส่ฐานปฏิบัติการร้อย ทพ.4816 กรมทหารพรานที่ 48 หมู่ 2 ต.จวบ อยู่ตรงข้ามกับ รพ.เจาะไอร้อง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส และยังถือเป็นอีกหนึ่งใน 17 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันเดียวกันทั้งใน จ.นราธิวาส และ จ.ยะลา ซึ่งตรงกับวันสถาปนาแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปาตานี หรือที่รู้จักกันในน

เหตุป่วนเจาะไอร้อง “พื้นที่ปลอดภัย” ชายแดนใต้ รับสันติภาพเดินหน้า

 

 

จากเว็บไซต์ นักข่าวพลเมือง รายงานว่า บ่ายวานนี้ (13 มี.ค. 2559) เกิดเหตุความไม่สงบในพื้นที่อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส 3 จุดในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ