การจากไปของอุสตาซ สะแปอิง บาซอ : ปรากฏการณ์วีรบุรุษที่รัฐไทยมิอาจปฏิเสธ
อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด
การต่อสู้ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยที่ก่อกำเริบขึ้นมานานนับศตวรรษ ได้ก่อกำเนิดประวัติศาสตร์ลูกใหม่อย่างไม่รู้จักจบสิ้น หนึ่งในนั้นคือการปรากฏของบรรดานักต่อสู้รุ่นแล้วรุ่นเล่า ถึงแม้ในบางยุคบางสมัยสถานการณ์การต่อสู้ของขบวนการปลดปล่อยปาตานี หรือเรียกในอีกภาษาหนึ่งคือ “ขบวนการต่อสู้ภาคประชาชน” ที่ลุกขึ้นมาต่อสู้กับอำนาจรัฐที่ไม่เป็นธรรม จนถึงขั้นเอาชีวิตขึ้นมาแลกและความสุขสบายเป็นเดิมพัน
ข้อดีข้อหนึ่ง ของกรณีการบุก ร.พ. เจาะไอร้อง ที่หลายคนมองไม่เห็น
บทบาท PerMAS กับงานการเมืองสนับสนุน BRN จริงหรือ?
‘อสนียาพร นนทิพากร’
องค์กรภาคประชาสังคม เป็นอีกกลไกหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการผลักดันขององค์กรต่างชาติ พร้อมทั้งได้สนับสนุนเงินทุนในการดำเนินกิจกรรมให้ ซึ่งที่ผ่านมาการดำเนินกิจกรรมเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ อีกทั้งยังเป็นผลดีต่อภาคประชาชนและรัฐบาล แต่ในปัจจุบันการขับเคลื่อนขององค์กรภาคประชาสังคมได้กลับกลายเป็นปัญหาต่อความมั่นคงของประเทศ โดยเฉพาะองค์กรภาคประชาสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้
พบป้ายผ้า เรื่องคนอื่นบีบให้คุยได้ แต่เรื่องเรากลับคุยไม่ได้
เชิญชวนชมนิทรรศการภาพถ่าย "คืนความทรงจำ: เมืองญาบะ" รือเสาะ, นราธิวาส
ประมวลภาพ: งานเสวนา "LOCAL PERSPECTIVES ON THE GOVERNMENT-BRN PEACE INITIATIVE IN THE DEEP SOUTH"
สมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย
Patumwan, Bangkok
ข้อสังเกตเีกี่ยวกับบทสัมภาษณ์อุสตาซฮัสซัน ตอยิบครั้งที่ ๒
เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2556 ในรายการ “Dunia Hari Ini (โลกวันนี้)” ทางสถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกันสบ
วิเคราะท่าที่ของ BRN ต่อกระบวนการพูดคุย
คงจะเป็นเรื่องที่น่ายินดีสำหรั
บทแปล Komentar Berita โดยนาย Abu Hafez
บทความที่มีชื่อ Komentar Berita ที่ลงในบล็อกขององค์กร Deep South Watch เมื่อวันที่ 26 กรกฎาคมที่ผานมาเขียนโดย นาย Abu Hafez ซึ่งเป็นบุคคลที่อธิบายตัวเองว่าเป็น “นักต่อสู้ปลดปล่อยปาตานี” บทความชิ้นนี้อธิบายถึงการตีความของการริเริ่มเดือนรอมฎอนสันติสุขจากสายตาของ “นักต่อสู้” ผมจึงแปลต้นฉบับซึ่งเป็นภาษามลายูกลา