Skip to main content

ภาพบรรยากาศงานเสวนาสาธารณะ หัวข้อ "อันเนื่องมาจาก “เรือนราชา” วังระแงะกับสังคมมลายูที่เปลี่ยนแปลง"

ภาพบรรยากาศงานเสวนาสาธารณะ หัวข้อ "อันเนื่องมาจาก “เรือนราชา” วังระแงะกับสังคมมลายูที่เปลี่ยนแปลง"
วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม 2557  เวลา 13.00 - 16.00 น. 
ณ ห้องประชุม 203 อาคาร ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน ศูนย์พัฒนาทุนมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ถนนราชสีมา กรุงเทพฯ
จัดโดย มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์

ร่วมสนทนาโดย
1. คุณอับดุลฮันนาน มาหะมะ ตัวละครสำคัญในหนังสือภาพเล่าเรื่อง “เรือนราชา” (รูเมาะห์ราญอ) จากอดีตอันรุ่งเรืองสู่ความโรยราของปตานี ของ ซาเวียร์ โคมาส
2. ณายิบ อาแวบือซา นักสังเกตการณ์ทางสังคม จากสายเครือญาติเจ้าเมืองปัตตานี

 

ประมวลภาพบรรยากาศงาน "คืนความทรงจำ: เมืองญาบะ" รือเสาะ, นราธิวาส

 ประมวลภาพบรรยากาศงาน "คืนความทรงจำ: เมืองญาบะ"

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2556 ณ ศาลาประชาคมอำเภอรือเสาะ / โรงเรียนภัทรียาอนุบาล จ.นราธิวาส

################################

ประมวลภาพ: งานเสวนา "LOCAL PERSPECTIVES ON THE GOVERNMENT-BRN PEACE INITIATIVE IN THE DEEP SOUTH"

 ประมวลภาพบรรยากาศงานเสวนา
"LOCAL PERSPECTIVES ON THE GOVERNMENT-BRN PEACE INITIATIVE IN THE DEEP SOUTH"
 
วันที่ 31 ตุลาคม 2556
ณ The Foreign Correspondents' Club of Thailand (FCCT)
สมาคมผู้สื่อข่าวต่างประเทศแห่งประเทศไทย
Patumwan, Bangkok

ประมวลภาพ: สื่อเสวนา “20 คำถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้าต่อ”

ประมวลภาพบรรยากาศงาน
สื่อเสวนา “20 คำถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้าต่อ”

 
วันที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 13.30-16.30 น.
ณ ห้องสะบารัง 2 โรงแรมซีเอส จ.ปัตตานี

Photos by Piyasak Ausup 

“หลักเจตนารมณ์” แห่งกฏหมายอิสลามและการแสวงหาฉันทมติที่ทับซ้อน

 “หลักเจตนารมณ์” แห่งกฏหมายอิสลาม และการแสวงหาฉันทมติที่ทับซ้อน
A Call for Maqasid al-Shariah and A Search for Overlapping Consensus
 
อันวาร์ กอมะ
 

สันติสนทนาในบริบทของความรุนแรงที่ภาคใต้

หมายเหตุ: บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษในเว็บไซต์และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 ในชื่อ “Building the case for peace dialogues” ข้อเขียนข้างล่างนี้เป็นบทความฉบับเต็มที่ได้รับการอนุญาตให้กองบรรณาธิการทำการแปลและผ่านการตรวจทานโดยผู้เขียน กองบรรณาธิการเห็นว่าในสถานการณ์ที่ความรุนแรงกดทับและมีการถกเถียงถึงกระบวนการสันติสนทนาและการเจรจาสันติภาพอย่าง

การเมืองต้องนำการทหาร [1] : แนวทางที่ควรเป็นกับการพูดคุยที่ไว้วางใจ

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

           เมื่อวันที่ 30 มิถุนายนที่ผ่านมา ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ร่วมกับสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเวทีสัมมนาวิชาการหัวข้อ “การเมืองต้องนำการทหาร : ทิศทางการแก้ไขปัญหาภาคใต้สู่ความยั่งยืน” ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความเคลื่อนไหวทางความคิดสำคัญในพื้นที่สาธารณะถกเถียงถึงแนวทางการคลี่คลายความขัดแย้งที่ชายแดนภาคใต้อันควรจะเป็น