ชื่อหนังสือ : การแปลงเปลี่ยน ขับเคลื่อน ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี (วิธีการก้าวข้าม – Transcend Method)
ผู้เขียน : โยฮัน กัลตุง
ผู้แปล : เดชา ตั้งสีฟ้า
ในปัจจุบันวิธีการ Transcend เป็นแนวทางของกลุ่มคนทำงานความขัดแย้ง (conflict workers) ในหนังสือเล่มนี้นำเสนอแนวทาง “การแปลงเปลี่ยนขับเคลื่อนความขัดแย้ง” เป็นการลดความรุนแรง และเพิ่มพูนความยุติธรรมต่อโครงสร้างทางสังคม ซึ่งเนื้อหาในหนังสือได้อธิบายทำความเข้าใจ เรื่องราวดังนี้
ชื่อหนังสือ : มนุษย์กับสันติภาพ
บรรณาธิการ : ศรีเพ็ญ ศุภพิทยากุล
มนุษย์ทุกคนต้องการอยู่อย่างสันติ แม้มนุษย์จะอยู่ท่ามกลางความขัดแย้ง
เนื้อหาในหนังสือ
บทที่ 1 มนุษย์กับสันติภาพ ระวี ภาวิไล
บทที่ 2 จิตวิทยากับการสร้างเสริมสันติภาพ ธีระพร อุวรรณโร
บทที่ 3 สันติภาพภายใต้เงื่อนไขของความขัดแย้งทางสังคมและการเมือง ม.ร.ว. พฤทธิสาณ ชุมพล
บทที่ 3 ปรัชญาและศาสนาเพื่อสันติภาพ กีรติ บุญเจือ
บทที่ 3 มนุษย์และสันติภาพ : มิติทางกฎหมาย วิทิต มันตาภรณ์
บทที่ 4 การค้าอาวุธระหว่างประเทศ สุรชาติ บำรุงสุข
บทที่ 5 เศรษฐกิจการเมืองและเศรษฐศาสตร์ : ความยากจนและสันติภาพ ชเนฏฐ์ วัลลภขุมทอง
บทที่ 6 บทบาทของรัฐและองค์การระหว่างประเทศในการแก้ไขข้อขัดแย้งระหว่างประเทศโดยสันติวิธีและในการรักษาสันติภาพ สมพงศ์ ชูมาก
บทที่ 7 การบริหารความขัดแย้ง เพื่อสร้างสันติภาพในองค์การ อนันต์ชัย คงจันทร์
บทที่ 8 การศึกษาและสันติภาพ ไพฑูรย์ สินลารัตน์
บทที่ 9 การแสวงหาสันติภาพในโลกปัจจุบัน วไล ณ ป้อมเพชร
การศึกษาเรื่อง “การอยู่อย่างสงบสุข” หรือ “เรื่องสันติภาพ” นั้นได้รับความสนใจจากนักวิชาการในประเทศไทยไม่น้อยกว่าสิบปี ดังนั้นเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ที่แสดงมุมมองของสันติภาพและกระบวนการสันติภาพที่หลากหลายและเปิดกว้างเพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ศึกษาประเด็นสันติภาพมากยิ่งขึ้น
หมายเหตุ: สามารถจองและยืมหนังสือได้ที่ ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพสาขาปัตตานี เบอร์ติดต่อ 093-574-6160