Skip to main content

แนะนำหนังสือภาษาไทย (PRC) (2 ): การแปลงเปลี่ยน ขับเคลื่อน ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี และมนุษย์กับสันติภาพ

แนะนำโดย นางสาวซุกกรียะห์ บาเหะ
ศูนย์ทรัพยากรสันติภาพ 
 
 

 

ชื่อหนังสือ : การแปลงเปลี่ยน ขับเคลื่อน ความขัดแย้ง โดยสันติวิธี (วิธีการก้าวข้าม – Transcend Method)

ผู้เขียน : โยฮัน กัลตุง

ผู้แปล : เดชา ตั้งสีฟ้า

โพลสันติภาพ (Peace Poll)

สุวรา แก้วนุ้ย อาจารย์นักวิจัย,
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ. ปัตตานี

 

“โพลสันติภาพช่วยสร้างบทสนทนาที่มีความหมาย เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นกลไกที่สามารถ ‘ต่อสาย’ ระหว่างประชาชนและนักการเมืองได้อย่างเป็นระบบ มากกว่านั้น โพลดังกล่าวยังช่วยสร้างการประนีประนอม หาจุดร่วม และช่วยทดสอบร่างข้อตกลงสันติภาพ เป็นวิธีในการช่วยสร้างกิจกรรมในหลากหลายช่อง (multi-track activity)” -- Dr.Colin John Irwin

‘Peace and Justice Dilemma’ ว่าด้วยการจัดการกับอดีตและยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน (ตอนที่ 1)

หมายเหตุ: ข้อเขียนนี้ เป็นการเรียบเรียงจากการบรรยายในห้องเรียนรายวิชาสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรม และสันติภาพ หลักสูตรปริญญาโท สาขาความขัดแย้งและสันติศึกษา สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2558 บรรยายโดย Dr. Norbert Ropers และนางสาวอภิชญา โออินทร์ อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา

00000

ความยุติธรรมเพื่อการเปลี่ยนผ่านควรมีบทบาทอย่างไรในชายแดนใต้

เขียนโดย
แพทริค แบรอน
ผู้อำนวยการภูมิภาค โครงการความขัดแย้งและการพัฒนา มูลนิธิเอเชีย
 
แปลโดย
ศศิวรรณ จริงจิตร
สันติ นิลแดง
เจ้าหน้าที่โครงการ มูลนิธิเอเชีย
 

Peace Communication: การศึกษาและพัฒนาการสื่อสารเพื่อสันติภาพ

หมายเหตุ: ข้อเขียนชิ้นนี้เป็นคำแถลงของ ผศ.ดร.วลักษณ์กมล จ่างกมล คณบดีคณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เพื่อกล่าวเปิดวงเสวนาวิสัยทัศน์ “แนวโน้มการสื่อสารหลากหลายช่องทางกับสันติ (ที่มองเห็น) ภาพ” ในกิจกรรมวันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี ครั้งที่ 2 “สันติ (ที่มองเห็น) ภาพ” เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา โดยเป็นการขมวดแนวคิดของสิ่งที่เรียกว่า “การสื่อสารสันติภาพ” ซึ่งจะเป็นพื้นฐานสำหรับการจัดตั้งและดำเนินงาน “ศูนย์การศึกษาและพัฒนาการสื่อสารเพื่อสันติภาพ” ของคณะวิทยาการสื่อสารในอนาคต

ดาโต๊ะซัมซามินกับอาจารย์ศรีสมภพ: ต้องให้ทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการพูดคุยสันติภาพรอบใหม่

แปลโดย
ตูแวดานียา มือรีงิง
บรรณาธิการสำนักข่าวอามาน 

หมายเหตุ : รายงานชิ้นนี้แปลจากรายการโลกประจำสัปดาห์ (DUNIA MINGGU INI - DMI) ทางทีวี 3 มาเลเซีย ประจำวันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม 2558

ดาโต๊ะซัมซามิน: ลมหายใจใหม่ของกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพ

แปลโดย
ตูแวดานียา มือรีงิง
บรรณาธิการสำนักข่าวอามาน

หมายเหตุ: รายงานชิ้นนี้เป็นการแปลจากการรายงานข่าวภาคค่ำ Buletin Utama ของทีวี 3 มาเลเซีย เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ผ่านมา

วาทกรรมสื่อมวลชนในกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานี

สมัชชา นิลปัทม์
อาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
รองผู้อำนวยการศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW)

 

ข่าว 3 มิติ: บทเรียนสันติภาพมินดาเนา

สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ จัดบรรยายทางวิชาการเรื่อง “เมื่อทหารทำงานสันติภาพ: บทเรียนและประสบการณ์จากมินดาเนา” โดยโฆษกกองพลทหารราบที่ 6 กองทัพบกฟิลิปปินส์ ซึ่งเห็นว่า การแก้ปัญหาความขัดแย้งต้องเอาชนะด้วยสันติภาพไม่ใช่การใช้อาวุธ และการพูดคุยกับกลุ่มคิดต่างจะเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญในการสร้างสันติภาพ ติดตามรายงานจากคุณฐปณีย์ เอียดศรีไชย