บทนักข่าวพลเมือง สานเสวนาสันติภาพชายแดนใต้
การรวมกกลุ่มสตรีที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ความรุนแรง ในการเรียนรู้ทักษะการจัดวงสานเสวนา เพื่อนำไปสู่การพูดคุยในระดับพื้นที่ หวังว่าจะเป็นพื้นที่สร้างความเข้าใจและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ติดตามจากรายงานนักข่าวพลเมืองเครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้
เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ ร่วมเรียนรู้การเป็นวิทยากรกระบวนการ นำไปปรับใช้ในพื้นที่ เพื่อจัดวงสานเสวนา ศึกษาความต้องการของชุมชนและปัญหาอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในพื้นที่
สื่อ – พื้นที่สาธารณะ
ทำความรู้จัก “บุคคลที่สาม ผู้แทรกแซงสถานการณ์ความขัดแย้ง”
สัมภาษณ์พิเศษแม่ทัพอุดมชัย: ถอดรหัส 6 นโยบายเฉพาะหน้า – เอาคนกลับถิ่น / เปิดช่องผู้เห็นต่าง
เปิดรายงาน “บทเรียนของเพื่อนชาวไอริช”
รายงาน ICG - ภาคใต้ของไทย: ก้าวไปสู่การแก้ปัญหาด้วยการเมือง? (ฉบับภาษาไทย)
ภาคใต้ของไทย: ก้าวไปสู่การแก้ปัญหาด้วยการเมือง?
รายงาน เอเชีย ฉบับ ที่ 181 – 8 ธันวาคม 2552
(ฉบับภาษาไทย)
การเมืองต้องนำการทหาร [4] : บทวิพากษ์
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
ปฏิกิริยาทางความคิดต่อ “รายงานปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ : บทวิเคราะห์และแนวทางการแก้ปัญหาเชิงรุกที่ยั่งยืนด้วยสันติวิธี” ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง “การเสริมสร้างสังคมสันติสุข” รุ่นที่ ๑ สำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า ซึ่งนำเสนอในเวทีวิชาการ “การเมืองต้องนำการทหาร” เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา
การเมืองต้องนำการทหาร [1] : แนวทางที่ควรเป็นกับการพูดคุยที่ไว้วางใจ
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
เมื่อวันที่ 30 มิถุนายนที่ผ่านมา ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ร่วมกับสำนักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า และศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดเวทีสัมมนาวิชาการหัวข้อ “การเมืองต้องนำการทหาร : ทิศทางการแก้ไขปัญหาภาคใต้สู่ความยั่งยืน” ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความเคลื่อนไหวทางความคิดสำคัญในพื้นที่สาธารณะถกเถียงถึงแนวทางการคลี่คลายความขัดแย้งที่ชายแดนภาคใต้อันควรจะเป็น
ถึงเวลาหรือยังที่จะต้องคุยกับกลุ่มขบวนการ?
เมธัส อนุวัตรอุดม