ดร.ซากิร ไนค์ กับรางวัล King Faisal International Prize (โนเบลของโลกมุสลิม)
King Faisal International Prize เป็นรางวัลประจำปีที่จัดมอบโดย King Faisal Foundation ใช้ชื่อของกษัตริย์ไฟศอล เนื่องจากท่านเป็นผู้นำประเทศมุสลิมที่เปี่ยมไปด้วยอุดมการณ์ มีความยุติธรรม และอุทิศตนเพื่อมนุษยชาติ รางวัลนี้ประกอบด้วย 5 สาขา ได้แก สาขารับใช้อิสลาม สาขาอิสลามศึกษา สาขาภาษาอาหรับและวรรณกรรม สาขาวิทยาศาสตร์ และสาขาการแพทย์
มลายูที่รู้สึก ?
มลายูที่รู้สึก?
โดย Mubarad Salaeh
เมื่อคืนวาน ผมได้มีโอกาสไปนั่งพูดคุยเสวนากับนักวิชาการและคณาจารย์หลายท่าน ทำให้ผมได้เห็นมุมมองของความคิดเห็นหลายๆอย่างที่อธิบายความเป็นมลายู
การฟื้นฟูนิติศาสตร์อิสลาม โดย ศ.ดร.ยะซิร อูดะฮฺ
การฟื้นฟูนิติศาสตร์อิสลาม
Prof.Dr.Jasser Auda เขียน ศิริวัฒน์ ฮะยีเลาะ แปลและเรียงเรียง
ความหมายของตัญจดีดและบทบาทของตัญจดีดในโลกปัจจุบัน
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงและการฟื้นฟู
มุมมองที่แตกต่างอย่างชัดเจนของความขัดแย้งระหว่งรัฐไทยกับ BRN
อัคคชา พรหมสูตร
มุมมองที่แตกต่างอย่างชัดเจนของความขัดแย้งนี้คือ รัฐไทยพยายามมองเป็นอาชญากรรมธรรมดา แต่ BRN มองเป็นสงครามปลดปล่อยประเทศมลายูปาตานี..
ขัอเสนอเพื่อให้สงครามนี้ยุติโดยเร็วและยุติการสูญเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคตให้เร็วที่สุด คงต้องมีผู้แพ้และผู้ชนะ..
ใครคือ ดร.ซากิร ไนก์ ตามทัศนะอูลามาอ์ อะห์ลุลซุนนะห์ วัลยามาอะห์ ? ตอนที่ 3 : คำฟัตวา Deoband (ดิวบัน) ต่อแนวทางการเผยแพร่ศาสนาฯ
ใครคือ ดร.ซากิร ไนก์ ตามทัศนะอูลามาอ์ อะห์ลุลซุนนะห์ วัลยามาอะห์ ? (ตอนที่ 3) :
คำฟัตวา Deoband (ดิวบัน) ต่อแนวทางการเผยแพร่ศาสนา ของ ดร.ซากิรไนก์
จนถึงตอนนี้คดีโต๊ะชูดไปถึงไหนแล้ว?
โต๊ะชูด
28 เมษายน 2559
เราไม่ได้เขียนเรื่องโต๊ะชูดนานแล้วด้วยภารกิจมากมายทั้งงานส่วนตัวและงานสังคม จนไม่นานก็ได้รับโทรศัพท์จากชาวบ้านที่บ้านโต๊ะชูดว่าอยากเจอกลุ่มด้วยใจ เราจึงได้นัดหมายให้มาเจอที่โรงแรมซีเอสเพราะมีประชุมที่นี้
คู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง (สำหรับพลเมืองไทยมุสลิม)
"คู่มือแนวทางการจัดการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมหน้าที่พลเมือง (สำหรับพลเมืองไทยมุสลิม)"
สำคัญยิ่งในบริบทสังคมต่างวัฒนธรรม สังคมและศาสนาอิสลาม