Skip to main content

ขอความเป็นมนุษย์ก่อนสันติภาพ

ตามเหตุการณ์ความไม่สงบที่ยังไม่เห็นจุดจบในแผ่นดินปาตานี (จังหวัดชายแดนภาคใต้) ณ โลกโซเซียลมีเดีย มีคนบางคนเอาภาพของศัพผู้เสียชีวิตจากเหตุการ ไม่ว่าจะเป็นศพของทหาร ผู้บริสุทธิ์หรือสมาชิกกลุ่มติดอาวุธ 

สรุปสถิติเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน พ.ศ.2556

 สรุปสถิติเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ระหว่างวันที่ 1-30 กันยายน พ.ศ.2556
โดย ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (Deep South Watch)

K4DS Post ข่าวสารจากโครงการ Knowledge for Deep South ประจำเดือนตุลาคม ปี 2556

K4DS POST ฉบับเดือนตุลาคมต้อนรับ เทศกาลอาหารโลก ซึ่งเมื่อกล่าวถึงอาหารฮาลาลในพื้นที่ชายแดนใต้ นั้นนอกจากจะแสดงออกถึงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมความเป็นอยู่ในเรื่องอาหารการกินของพี่น้องชาวมุสลิม แล้วนั้นแต่ฮาลาลยังเป็นยุทธศาสตร์ด้านกำลังการผลิตของรัฐบาลและองค์กรในพื้นที่ชายแดนใต้อีกด้วย เนื่องจากทั่วโลกมีประชากรที่เป็นมุสลิมกว่า2,000 ล้านคน และอยู่ในกลุ่มประเทศ IMT-GT คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ถึง 300 ล้านคน จึงนับเป็นตลาดที่สำคัญสำหรับประเทศไทยซึ่งเป็นศูนย์กลางของอาเซียนที่จะสามารถเชื่อมโยงผู้ผลิตฮาลาลไทยในพื้นที่ชายแดนใต้ไปสู่ตลาดฮาลาลโลกได้

ประมวลภาพ: สื่อเสวนา “20 คำถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้าต่อ”

ประมวลภาพบรรยากาศงาน
สื่อเสวนา “20 คำถามเพื่อกระบวนการสันติภาพเดินหน้าต่อ”

 
วันที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 13.30-16.30 น.
ณ ห้องสะบารัง 2 โรงแรมซีเอส จ.ปัตตานี

Photos by Piyasak Ausup 

อะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฎอนีย์ กับข้อกังวลต่อการสูญหายของภาษามลายูในดินแดนปาตานี

abdulloh wanahmad: AwanBook

อะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฎอนีย์ กับข้อกังวลต่อการสูญหายของภาษามลายูในดินแดนปาตานี

อะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฎอนีย์ กับข้อห่วงใยต่อวิกฤติและการดำรงอยู่ของภาษามลายูในปาตานี
ในโอกาสที่ได้ไปแวะเยี่ยมท่านอะฮ์หมัดฟัตฮีย์ อัลฟาฎอนีย์ นักเขียนประวัติศาสตร์ปาตานี ณ บ้านพักที่ประเทศมาเลเซีย เมื่อไม่นานมานี้(14/09/2013) และได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถึงประวัติศาสตร์ความรุ่งเรื่องของภาษามลายูในอดีต ความท้าทาย และการคงอยู่ในอนาคต ซึ่งได้สรุปเป็นประเด็นดังต่อไปนี้