บันทึกจากตุรกีว่าด้วยผลประชามติถึงประชาธิปไตยไทย ตอนที่ 2
บันทึกจากตุรกีว่าด้วยผลประชามติถึงประชาธิปไตยไทย ตอนที่ 2
mso-fareast-font-family:"Times New Roman";color:blue;border:dotted blue 1.0pt;
บันทึกจากตุรกีว่าด้วยผลประชามติถึงประชาธิปไตยไทย ตอนที่ 1
บันทึกจากตุรกีว่าด้วยผลประชามติถึงประชาธิปไตยไทย ตอนที่ 1§
ที่มา Patani Forum
อันวาร์ กอมะ*
รูปภาพที่ 1ภาพโปสเตอร์ของฝ่ายรับ (Evet) ที่ Taksim อิสตันบูล 16/04/2017
บันทึกความทรงจำของการต่อสู้ที่ถูกลืม: การประท้วงใหญ่ที่ปัตตานีปี 2518
อีกไม่กี่วัน…ก็จะครบรอบ 41 ปีของการประท้วงของประชาชนนับแสนที่มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี ถือเป็นหนึ่งในเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์ไทยที่มีผลกำหนดชะตากรรมต่อระยะที่เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อทางการเมืองในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรียกได้ว่าเป็นหนึ่งในการประท้วงที่ยาวนานของประเทศไทย เพราะกินเวลาทั้งสิ้น 45 วัน (ตั้งแต่วันที่ 11 ธันวาคม ปี 2518 จนถึงวันที่ 24 มกราคม 2519)
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีของประเทศอินโดนีเซีย
หลังจาก นาย ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน (Susilo Bambang Yudhoyono) ได้ครองตำแหน่งประธรานาธิบดีเป็นเวลาสองสมัย ในสุดท้าย เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคมนี้ จะมีการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีคนใหม่สำหรับประเทศอินโดนีเซีย
รัฐที่ไม่มีผู้ใดยอมให้ปกครองคือรัฐที่ไร้อำนาจ
อาบีบุสตา ดอเลาะ
กลุ่มกิจกรรมนักศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมชายแดนใต้(KAWAN-KAWAN)
ข้อสังเกตเรื่องการเลือกตั้งผู้ว่าฯ
มีนักข่าวบางท่านติดต่อผมและถามว่า คิดอย่างไรกับข้อเสนอที่ให้คนในสามจังหวัดเลือกผู้ว่าฯ ผ่านการเลือกตั้ง
ตอนนี้ กระบวนการสันติภาพเพิ่งเริ่มต้น อยู่ในระดับการพูดคุยซึ่งมีเป้าหมายหลักคือ การสร้างความไว้วางใจ ฉะนั้น อาจเร็วเกินไปสำหรับฝ่ายรัฐที่จะนำเสนอรูปแบบการปกครองในอนาคต ณ ตรงนี้ เพราะภาวะสงครามกลางเมืองหรือการรบกันยังไม่สิ้นสุด