ประมวลภาพพิธีสาบานตนแต่งตั้งผู้นำและรองผู้นำอาเจะห์คนใหม่
ไฟใต้หลังเลือกตั้ง (1): รัฐบาลใหม่กับ 3 ประเด็นใหญ่ใน ‘กระบวนการสันติภาพ’
‘เราทั้งผองพี่น้องกัน’ 5 ข้อเสนอจาก ‘อิสมาอีลลุตฟี’ คลายปม ‘ชนกลุ่มน้อย’ ในเขตปกครองพิเศษ
กองบรรณาธิการสำนักข่าวอามาน (Aman News Agency)
ปกครองพิเศษ-ตรวจสอบงบประมาณนายกฯรับข้อเสนอดับไฟใต้
โดย ทีมข่าวภูมิภาค หนังสือพิมพ์โพสต์ ทูเดย์ (เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อ 27 สิงหาคม 2553)
ภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ที่ไร้ทีท่าจะยุติคณะกรรมาธิการวิสามัญติดตาม เร่งรัดประเมินผลการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ วุฒิสภาซึ่งมี พล.ต.อ.สุนทร ซ้ายขวัญเป็นประธาน ได้เข้าพบนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 25 ส.ค.ที่ผ่านมา เพื่อหารือในหลายประเด็น
พล.ต.อ.สุนทร เปิดเผยว่าเป็นการเข้าพบเพื่อหารือถึงการแก้ปัญหาของรัฐบาล ซึ่งการใช้งบประมาณและกำลังพลเพื่อแก้ปัญหาจะต้องเห็นผลสัมฤทธิ์
2563 เปลี่ยนประเทศไทย: ปกครองตนเอง?
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ :ความจริงจากพื้นที่ (3)
จรัญ มะลูลีม
ดังนั้น สังคมไทยจำเป็นจะต้องคงไว้และยอมรับโดยดุษฎีในความแตกต่างดังกล่าวและจะต้องไม่พยายามที่จะทำการใดๆเพื่อขจัดความแตกต่างเหล่านี้ มิฉะนั้น แล้วจะนำไปสู่ปัญหาต่างๆ มากมายโดยไม่จำเป็น
มุมมุสลิม: นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ :ความจริงจากพื้นที่ (2)
จรัญ มะลูลีม
ความหมายและขอบเขตของปัญหา (ต่อ)
ความชัดเจนในเอกลักษณ์ทั้งสองประการดังกล่าวนี้ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดและความสับสนเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาพอสมควรมีคนเป็นจำนวนมากปรารภว่าชาวมุสลิมในสามจังหวัดภาคใต้ไม่มีความรู้สึกเป็นไทยเท่าที่ควร จึงเกิดความพยายามในฝ่ายของรัฐที่จะส่งเสริมให้ชาวมุสลิมเหล่านี้มีความรู้สึกเป็นไทยแต่เราลืมไปว่า คำว่าไทยในความหมายที่ใช้อยู่ในขณะนี้มีสองความหมายด้วยกัน คือไทยในความหมายของสัญชาติ และไทยในความหมายของเชื้อชาติหรือชาติพันธุ์
นครปัตตานีหรือเขตบริหารพิเศษ : ความจริงจากพื้นที่ (1)
จรัญ มะลูลีม
แนวคิดการจัดตั้งนครปัตตานีมิได้มีความขัดแย้งกับนโยบายของรัฐว่าด้วยการจัดองค์การบริหารราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่เน้นการสร้างความเข้าใจ ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนเพื่อใช้เป็นแผนแม่บทในการแก้ไขปัญหาแต่อย่างใด การจัดตั้งนครปัตตานีอาจถือได้ว่าเป็นการใช้การเมืองนำการทหาร โดยเน้นไปที่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและการบริหารในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างการเสริมสร้างความเข้าใจเพื่อเป็นเครื่องมือดำเนินการเป็นด้านหลัก