Skip to main content

We walk together (เดินสานใจสู่สันติชายแดนใต้) ...

เก็บตกภาพคณะทำงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ (DSW) และสถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมชายแดนใต้ (CSCD) ร่วมเดินให้กำลังใจแก่คณะรณรงค์ "เดินสานใจสู่สันติชายแดนใต้" เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558 ที่ผ่านมา 

ภาพโดย ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์ (DSP)
 

อินเดีย ; การพัฒนาท่ามกลางกองขยะ ความเชื่อ ความฝัน ความจริง

อินเดีย  ; การพัฒนาท่ามกลางกองขยะ ความเชื่อ ความฝัน ความจริง[1 

โดย       อับดุรเราะฮหมาน มูเก็ม 

เดินธรรมาตรา3 พื้นที่

การเดินธรรมยาตรา เป็นการเดินอย่างสงบ ด้วยใจที่เชื่อมั่นในอานุภาพแห่งธรรมว่าสามารถก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงได้เป็นความพยายามที่จะเชื่อมกิจกรรมเพื่อสังคมและการปฏิบัติธรรมเข้าด้วยกันและในช่วงนี้มีกิจกรรมการเดินเพื่อสังคมในหลายพื้นที่ ทั้งกิจกรรม ธรรมยาตรา นิเวศภาวนาที่จังหวัดพะเยา...โครงการเดินสานใจสู่สันติชายแดนใต้ และ”ธรรมชาติยาตราเพื่อแม่น้ำมูลที่จ.ศรีสะเกษ”

โลกมลายูสูญเสียปราชญ์อิสลามศึกษาและนักการเมืองผู้มีจรรยางาม

โดย อุสตาซอับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์ ดินอะ (อับดุลสุโก ดินอะ)
[email protected]         

ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตากรุณาปรานีเสมอ มวลการสรรเสริญเป็นกรรมสิทธิ์พระองค์ผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก ขอความสันติสุขจงมีแด่ศาสนฑูตมุฮัมมัด ผู้เจริญรอยตามท่านและสุขสวัสดีแด่ผู้อ่านทุกคน

สันติภาพสมบัติร่วมของมนุษยชาติ

สันติภาพเป็นสมบัติร่วมของมนุษยชาติทั้งมวล
ไม่มีผู้ใดจะ "ผูกขาด" ในการ "เป็นเจ้าของ" 
ดอกผลแห่งสันติภาพก่อให้เกิดความสงบและความเชื่อมั่นในกันและกัน
สันติภาพทำให้ความแตกต่างดำรงอยู่ด้วยกันได้

บทบาทภาคประชาสังคมที่หายไป?

ด้วยบริบททางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้เกิดคำถามตามมาว่ากระบวนการสร้างสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร พลเมืองข่าวพูดคุยในประเด็นนี้กับ

นายอนุกูล อาแวปูเตะ ประธานศูนย์ทนายความมุสลิม จังหวัดปัตตานี

นายรอมฎอน ปันจอร์ จากศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

บทบาทภาคประชาสังคมที่หายไป?

นับจากวันที่28กุมภาพันธ์2556 ตัวแทนรัฐไทยได้ลงนามในข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติภาพกับผู้คนที่มีความคิดเห็นและอุดมการณ์แตกต่างจากรัฐ โดยมีประเทศมาเลเซียทำหน้าที่อำนวยความสะดวก ซึ่งในครั้งนั้นภาคประชาสังคมมีบทบาทอย่างชัดเจนในคณะการพูดคุยเพื่อสันติภาพ แต่ถึงตอนนี้เริ่มเกิดคำถามว่า บทบาทของภาคประชาสังคมหายไปไหน

สงครามสื่อ

หลายวันมานี้ ผมเฝ้าสังเกตสิ่งที่เป็นกระแสอยู่ในโลก Social Networkโดยเฉพาะตะวันออกกลาง มันคือ กระบวนการสร้างภาพให้ "อิสลามและมุสลิม" เป็นอย่างที่ผู้อยู่เบื้องหลังการสร้างกระแสต้องการ และหาก "ภาพ" นั้นติดตาตรึงอยู่ในใจประชาคมโลกแล้ว แผนขั้นต่อไปของพวกเขาคงง่ายดาย

เรื่องสั้น; ระแวง

ระแวง

เรื่องสั้นรางวัลชมเชย ในการประกวดเรื่องสั้น ในหัวข้อ “ผู้คน-พลเมือง อารมณ์ความรู้สึก และชีวิตทางวัฒนธรรมในชายแดนใต้” ปี55   ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร

อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด ; เขียน

 

PerMAS ประกาศวันมนุษยธรรม

            ความหดหู่ที่เกิดจากภาวะสงครามในพื้นที่ปาตานีซึ่งได้แก่( ยะลา นราธิวาส ปัตตานี และสี่อำเภอของสงขลา) ทำให้หลากหลายคนต่าง  ตั้งคำถามว่า เหตุใดถึงเกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ไม่หยุดไม่หย่อนกันเสียที ทั้งที่หลายหน่วยงานเหลือเกินที่ประโคมใส่ความห่วงใยในพื้นที่มากมาย ซึ่งเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่บ้างก็ต้องผ่านช่องทีวีบ้างก็ถูกปิดข่าว แต่เมื่อข่าวนั้นออกทีวีเมื่อไร แน่นอนคนทั่วประเทศต้องรับรู้ ทำให้เกิดเครื่องหมายคำถามลอยในอากาศเต็มไปหมด ไม่เพียงเฉพาะพี่น้องในพื้นที่ที่ตั้งคำถาม เชื่อว่า พี่น้องพื้นที่อื่นก็มีความขับข้องใจเหมือนก