ทุกคนมีสิทธิได้ผลบุญค่ำคืนอัลก็อดรฺและอย่าทำสิ่งงมงาย
ทุกคนมีสิทธิได้ผลบุญค่ำคืนอัลก็อดรฺและอย่าทำสิ่งงมงาย
อุสตาซอับดุชชะกูรฺ บินชาฟิอีย์ (อับดุลสุโก ดินอะ)
กรรมการสภาประชาสังคมชายแดนใต้
ผู้ช่วยผู้จัดการโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ อ.จะนะ จ.สงขลา
[email protected], http://www.oknation.net/blog/shukur
เหตุไม่สงบชายแดนใต้ นัยความต่างของรอมฏอนในปีที่ไร้ข้อตกลงยุติความรุนแรง
ในช่วง 10 คืนสุดท้ายของเดือนรอมฎอนโดยเฉพาะเมื่อประมาณ 5 ปีที่แล้ว พบว่าสถิติของสถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้มีความถี่ค่อนข้างสูง แต่เริ่มเปลี่ยนแปลงไปเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาหลังจากที่มีการพูดคุยสันติภาพโดยเริ่มตั้งแต่ปี 2556 และ 2557 ซึ่งช่วงนั้นได้เริ่มกระบวนการพูดคุยฯ โดยใช้เดือนรอมฎอนเป็นข้อตกลงร่วมกันอย่างลับๆ ว่าจะยุติความรุนแรงจากทั้งสองฝ่าย
ปรากฏการณ์คลื่นความรุนแรงและการเปลี่ยนผ่านในการเมืองระหว่างประเทศตุรกี
ปรากฏการณ์คลื่นความรุนแรงและการเปลี่ยนผ่านในการเมืองระหว่างประเทศตุรกี
ยาสมิน ซัตตาร์
ขอ “พื้นที่สาธารณะปลอดภัยสำหรับผู้หญิงชายแดนใต้” ในงาน 30 ปี กป.อพช.ใต้
ขอ “พื้นที่สาธารณะปลอดภัยสำหรับผู้หญิงชายแดนใต้” ในงาน 30 ปี กป.อพช. ใต้
เลขา เกลี้ยงเกลา
บุหรี่ "ติดแล้วเลิกยาก"
“ติดแล้วเลิกยาก”
เพื่อนแซวว่าดูดบุหรี่มา 20 กว่าปีเพื่อวันนี้ วันที่ต้องมาเปลือยชีวิตเป็นเครื่องมือในการสอนการสื่อสารเพื่อการรณรงค์ควบคุมบุหรี่อย่างไร?
เล่าให้ตัวแทนสภาพยาบาลแห่งประเทศไทยฟัง “คนติดบุหรี่ใครเตือนอย่างไรเขาเลิกไม่ได้หรอกจนกว่าร่างกายหรือคนรอบข้างจะส่งสัญญาณบางอย่าง”
ข้อคิดจากงาน 30 ปีองค์กรพัฒนาเอกชนภาคใต้ โดย นายแพทย์สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ
เมื่อวาน ผมได้ร่วมเสวนา 30 ปีองค์กรพัฒนาเอกชนภาคใต้ที่สถาบันทักษิณคดีศึกษา สงขลา ผมบอกไปว่า "วิธีคิดที่ครอบงำโลกในปัจจับัน คือ วิธีคิดสายอรรถประโยชน์นิยม แปลว่าบวกลบเลขว่าทำแบบนี้แบบนั้นแล้วตัดสินใจว่าคุ้มไม่คุ้ม
เช่น กรณีโรงไฟฟ้าถ่านหินบวกลบเลขแล้วคุ้ม แม้ต้องย้ายชุมชน 240 ครัว ย้ายกุโบร์ที่เทพา มันคุ้ม! คนจนต้องเสียสละ
ชุมคน ชุมชน คนใต้: สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตที่ควรจะเป็น
29 มิ.ย. 2559 ในงาน “จับปลาต้องลงน้ำ: 30 ปี กับบทเรียนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนภาคใต้” ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา บนเกาะยอกลางทะเลสาบสงขลา อ.เมือง จ.สงขลา โดยจะมีนักพัฒนาเอกชน (NGOs) แกนนำชุมชน ภาคประชาสังคม นักวิชาการ นักศึกษา ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิลปินเพื่อสังคม สื่อมวลชนในภาคใต้ และส่วนหนึ่งจากทั่วประเทศเข้าร่วมประมาณ 300 คน
บทที่ 2 ว่าด้วยเรื่อง "สอนน้องตะรอเวี๊ยะห์"
>>> ละหมาดตะรอเวี๊ยะห์ เป็นการละหมาดในช่วงเดือนรอมฏอน เริ่มละหมาดตะรอเวี๊ยะห์หลังจากเสร็จละหมาดอีซา
>>> บางคนละหมาด 8 รอกาอัต บางคนละหมาด 23 รอกาอัต อย่างประเทศมาเลเซียส่วนใหญ่ละหมาดตะรอเวี๊ยะห์ 8 รอกาอัต แต่สามจังหวัดบ้านเราละหมาด 23 รอกาอัต สังเกตจากมัสญิดเป็นหลัก
>>> ขึ้นชื่อว่าเด็ก ย่อมมีสมาธิสั้นกันทั้งนั้น (ผู้ใหญ่บางท่านก็เป็นเช่นกัน) เราในฐานะผู้ใหญ่น่าจะเข้าใจน่ะ เพราะยังไงเราก็เคยผ่านการเป็นเด็กมาก่อน
สัมภาษณ์ผู้นำศาสนา (2) “แวดือราแม มะมิงจิ” รอมฏอนกับการสร้างสันติภาพ
สะรอนี ดือเระ โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ)
ในวาระแห่งเดือนอันประเสริฐ โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้สัมภาษณ์พิเศษนายแวดือราแม มะมิงจิ ประธานกรรมการอิสลามประจำจังหวัดปัตตานีในประเด็นกิจกรรมต่างๆ ของสำนักงานกรรมการอิสลามในเดือนรอมฎอนพร้อมทั้งสะท้อนแง่มุมทางสังคมในฐานะผู้นำศาสนาในพื้นที่และมุมมองต่อกระบวนการสันติภาพชายแดนใต้