เสียงของคณะทำงานวาระผู้หญิงชายแดนใต้เดินหน้าสร้างพื้นที่ปลอดภัย
25 พฤศจิกายนของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันยุติความรุนแรงต่อสตรีสากล” วันนี้คณะทำงานวาระผู้หญิงชายแดนใต้รวมตัวจัดเวทีสานเสวนาเพื่อ
"เราขอโทษน่ะปารีส”
ยุติการคุกคามเสรีภาพทางวิชาการของ 6 นักวิชาการ กรณีการแถลงข่าวมหาวิทยาลัยไม่ใช่ค่ายทหาร
แถลงการณ์เครือข่ายพลเมืองสงขลา
วันอาทิตย์ที่ 22 พฤศจิกายน 2558
ยุติการคุกคามเสรีภาพทางวิชาการของ 6 นักวิชาการ กรณีการแถลงข่าวมหาวิทยาลัยไม่ใช่ค่ายทหาร
ความอ่อนไหวอย่างยิ่งที่เทพา เมื่อต้องย้ายมัสยิด กุโบร์และปอเนาะ เพื่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา
โรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาขนาด 2,200 เมกาวัตต์บนเนื้อที่ 2,960 ไร่แห่งตำบลปากบางเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา ซึ่งตั้งห่างจากชายแดนจังหวักปัตตานีไม่ถึง 10 กิโลมตร กำลังมีประเด็นที่อ่อนไหวที่เพิ่งปรากฏต่อสาธารณะหลังจากเวที ค.3 ที่ประชาชนขาดการมีส่วนร่วมอย่างมาก เพราะเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชน และผู้มีส่วนได้เสียครั้งที่ 3 (ค.3) โครงการโรงไฟฟ้
กระบวนการสันติภาพในเมียนมาร์: บทเรียนรู้และข้อเสนอแนะสำหรับเส้นทางสันติภาพในชายแดนใต้/ปาตานี
จากการศึกษาดูงานภายใต้หลักสูตรวุฒิบัตร การเสริมสร้างสังคมสันติสุขในจังหวัดชายแดนใต้ รุ่นที่ ๓ ( สสสส ใต้ รุ่นที่ ๓ ) ของสถาบันพระปกเกล้า ช่วงวันที่ ๒๐ - ๒๓ เมษายน ๒๕๕๘ ที่ผ่านมานั้น ได้บทเรียนรู้จากกระบวนการสันติภาพของเมียนมาร์ ที่สามารถนำปรับมาใช้สำหรับเส้นทางการสร้างสันติภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้/ ปาตานี ได้ดังนี้
๑) กระบวนการสันติภาพต้องการความต่อเนื่อง จริงใจ เพื่อสร้างความไว้วางใจ
นอร์เบิร์ต โรเปอร์ส: ความเหมือนที่แตกต่างสันติภาพ ‘ปาตานี’ VS ข้อตกลงหยุดยิง ‘เมียนมา’
มข่าวพลเมืองภาคใต้ สัมภาษณ์ ดร.นอร์เบิร์ต โรเปอร์ส (Dr.Norbert Ropers) อดีตผู้อำนวยการมูลนิธิเพื่อสันติภาพเบอร
นิทรรศการศิลปะ "วาง ร่องรอยชีวิต จิต ศรัทธา ไว้ที่ ปาตานี" ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ (กรุงเทพ)
บรรยากาศงานเปิดนิทรรศการศิลปะ “วาง ร่องรอยชีวิต จิต ศรัทธา ไว้ที่ ปาตานี” โดยกลุ่มศิลปินในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 5 คน ได้แก่ พิเชษฐ์ เปียร์กลิ่น, อิมรอน ยูนุ, มูฮัมหมัดซุรียี มะซู, จรุงรัตน์ รอดคืน และ เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ จัดแสดง ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ กรุงเทพฯ ระหว่างวันที่ 3 - 27 พฤศจิกายน 2558