Skip to main content

ความท้าทายของวิทยาลัยประชาชนกับการเปิดพื้นที่กลาง เพื่อแสวงหาทางออกสู่สันติภาพปาตานี/ชายแดนภาคใต้ที่ยันยืน

                       สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนใต้ ตลอดระยะเวลากว่าสิบปีที่ผ่านมาจนถึงทุกวันนี้นับว่าเป็น “โจทย์”ที่ยากและท้าทายสำหรับทุกรัฐบาล ซึ่งการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมายังขาดการมีส่วนรวมและขาดพื้นที่กลางสำหรับประชาชน เนื่องจากการที่คู่ขัดแย้ง ดำเนินการพูดคุยกันเพียง แค่สองฝ่ายนั้นไม่เพียงพอสำหรับการแสวงหาทางออกของกระบวนการสันติภาพปาตานี/ชายแดนใต้ได้ เพราะกระบวนการสันติภาพ จะต้องมีหลายๆภาคส่วนจะต้องเดินไปพร้อมๆ กัน ไม่เพียงแค่ปล่อยให้คู่กรณีหลักอย่างฝ่ายรัฐและฝ่ายเห็นต่างจากรัฐมากำหนดแนวทา

ส่วนหนึ่งจากความเห็นในเวที “ปาตานี นามนั้น...สำคัญไฉน” (ตอน 1)

ฐปนีย์ เอียดศรีไชย

การเปิดตัวของกลุ่ม มารา ปาตานี ที่ร่วมพูดคุยเพื่อสันติสุขกับรัฐบาลไทย ทำให้มีการตั้งคำถามถึงคำว่า ปาตานี หมายถึงอะไร ภาคีภาคประชาสังคมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้จึงจัดเวทีเสวนาเรื่อง ปาตานี นามนั้นสำคัญไฉน โดยมีผู้เกี่ยวข้องมี มุมมองที่แตกต่างกัน สำหรับคนในพื้นที่เห็นว่าคำนี้ไม่มีปัญหา แต่หากสังคมส่วนใหญ่เกิดความไม่เข้าใจจะต้องร่วมกันหาคำนิยามเพราะมีคำที่เกี่ยวข้องกับความขัดแย้งอีกหลายคำ

ตัวเลขและข้อเท็จจริงของวิกฤตผู้ลี้ภัยในซีเรีย

ความขัดแย้งในซีเรีย

  • 220,000 คือจำนวนจำนวนผู้ที่ถูกสังหารจากความขัดแย้งในซีเรีย
  • 12.8 ล้านเป็นจำนวนคนที่จำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมอย่างเร่งด่วนในซีเรีย
  • 50%ของประชากรประเทศซีเรียกลายเป็นผู้พลัดถิ่นฐาน
  • 4 ล้าน  คือจำนวนผู้ลี้ภัยจากซีเรีย และ95% ของจำนวนผู้ลี้ภัยเหล่านี้ พำนักอาศัยในห้าประเทศคือ ตุรกี เลบานอน จอร์แดน อิรักและอียิปต์

 

คำถามในความเงียบ

เมื่อคืนนั่งคุยกับเพื่อนที่มากับคณะสถาบันพระปกเกล้า

เพื่อนถามว่าทำไมช่วงนี้เงียบ เกี่ยวกับมาร่ามั้ย

ผมตอบคำถามไม่ได้ รู้แต่ว่าเงียบจนคนในพื้นที่อย่างผมยอมรับเลยว่ารู้สึกได้ และแอบคิดทางบวกในใจ เอ หรือว่ามันสงบแล้วจริงๆ

คำตอบที่พอจะตอบได้คือ

1 ไม่เกี่ยวกับมาร่า เพราะมีฝ่ายไม่เอาเจรจา ยืนยันจะสู้ต่อ

โครงการช.ช.ต.และธนาคารโลก พบปะตัวแทน อบต.โคกเคียน

เลขา เกลี้ยงเกลา    

 

            เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา นางสาวลม้าย มานะการ ผู้ประสานงานอาวุโส และนางสาวมาเรียม ชัยสันทนะ ผู้จัดการแผนงานทุนพัฒนาชุมชน โครงการสนับสนุนชุมชนเพื่อฟื้นฟูท้องถิ่นชายแดนภาคใต้(ช.ช.ต.) ร่วมกับนางภมรรัตน์ ตันสงวนวงษ์ เจ้าหน้าที่อาวุโสด้านการพัฒนาสังคม และนางสาวนุชนาฎ จันทรวิเศษ จากธนาคารโลก พบปะตัวแทนอบต.โคกเคียนเพื่อรับทราบการทำงานของผู้ประสานงานพื้นที่ และหาแนวทางการทำงานร่วมกันในอนาคต

เกร็ดความรู้ในแง่กฎหมายที่เห็นต่างกัน (ตอนที่ 1): การกำหนดใจตนเอง (Self-determination) กระทำได้หรือไม่? ในพื้นที่ จชต.

‘อสนียาพร  นนทิพากร’

ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานนับสิบกว่าปี มีกำลังทหารจากพื้นที่อื่นลงมาปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้หลายหมื่นคน ผู้ที่คิดต่าง นักวิชาการได้มีการกล่าวโจมตีชี้ให้เห็นว่าไม่มีความจำเป็น และมีการเรียกร้องให้มีการถอนกำลังออกนอกพื้นที่ ซึ่งในความเป็นจริง การบรรจุกำลังของเจ้าหน้าที่ทหารในอัตราของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า เป็นการลงมาปฏิบัติงานช่วยเจ้าหน้าที่ตำรวจในการรักษาความสงบเรียบร้อย และเป็นการบังคับใช้กฎหมายเท่านั้น มิใช่ลงมาเพื่อทำการสู้รบ หรือการทำสงครามกับฝ่ายคิดต่างแต่ประการใด

ความหวาดกลัวอิสลาม (Islamophobia) ทั้งโลกตะวันตกและไทย

บทความพิเศษ โดย อุสตาซอับดุชชะกูร์ บินชาฟิอีย์ ดินอะ (อับดุลสุโก ดินอะ) [email protected]
 
 
ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ ผู้ทรงเมตตากรุณาปรานีเสมอ มวลการสรรเสริญเป็นกรรมสิทธิ์พระองค์ผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก ขอความสันติสุขจงมีแด่ศาสนทูตมุฮัมมัด ผู้เจริญรอยตามท่านและสุขสวัสดีแด่ผู้อ่านทุกคน
 

กระบวนการยุติธรรมที่ไม่เลือกข้าง...

‘สันติสุขที่ปลายด้ามขวาน’

 

กระบวนการพิจารณาคดีความของศาลสถิตยุติธรรม เป็นสถาบันหลักสถาบันหนึ่งที่องค์กรอื่นๆ ไม่สามารถแทรกแซง อีกทั้งไม่เอนเอียงเข้าข้างฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นที่พึ่งของพี่น้องประชาชน การพิจาณาคดี มีความถูกต้อง เที่ยงตรง และเสมอภาค โดยเฉพาะในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแก้ปัญหา ไม่เป็นการซ้ำเติมปัญหา ซึ่งที่ผ่านมากระบวนการยุติธรรมได้พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่า ได้พิจารณาตัดสินคดีด้วยความรอบคอบเป็นธรรม ว่าไปตามวัตถุพยานหลักฐาน หากขาดซึ่งพยานและหลักฐานที่ไม่แน่นหนาพอศาลจะพิจารณายกฟ้องให้เป็นผลประโยชน์ต่อจำเลย