เครือข่ายผู้หญิงจัดสานเสวนาศึกษาสถานการณ์ชุมชนพหุวัฒนธรรมยุโป (2)
‘Peace and Justice Dilemma’ ว่าด้วยการจัดการกับอดีตและยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน (ตอนที่ 2)
หมายเหตุ: ข้อเขียนนี้ เป็นการเรียบเรียงจากการบรรยายในห้องเรียนรายวิชาสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรม และสันติภาพ หลักสูตรปริญญาโท สาขาความขัดแย้งและสันติศึกษา สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2558 บรรยายโดย Dr. Norbert Ropers และนางสาวอภิชญา โออินทร์ อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา (คลิกดูบทความตอนที่ 1 ที่นี่)
บันทึกครบรอบสองเดือนทุ่งยางแดง
เหตุการณ์ความรุนแรงที่บ้านโต๊ะชูด
อ.ทุ่งยางแดง จ. ปัตตานีหลังจากความรุนแรงผ่านไป 2 เดือน
โดย กลุ่มด้วยใจ
จากเหตุการณ์เจ้าหน้าที่หลายฝ่ายปฏิบัติหน้าที่ปิดล้อมตรวจค้นที่ บ้านโต๊ะชูด ตำบล พิเทน อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี เมื่อ วันที่ 25 มีนาคม 2558 และปรากฏว่ามีประชาชนจำนวน 4 คนถูกยิงเสียชีวิตและมีการจับกุมบุคคลจำนวน 22 คน ทั้งนั้นต่อมามีการตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีดังกล่าว ปรากฏว่า “
ภาพเก่า...คืนความสุขสายบุรี
สายบุรี เป็นเมืองเก่าอีกแห่งหนึ่งในจังหวัดปัตตานี การอธิบายถึงตัวตน วัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเชื่อในชุมชน จากคนในท้องถิ่นย่อมถ่ายทอดได้ดีกว่าคนภายนอกอย่างภาครัฐ และสื่อ จึงเป็นที่มาของแนวคิดการจัดกิจกรรม คืนความสุขสายบุรี ที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
ตุรกีกับการเลือกตั้งทั่วไป 2015
ยาสมิน ซัตตาร์
การเมืองตุรกีได้เดินทางมาถึงจุดที่น่าสนใจอีกครั้งหนึ่งภายหลังจากที่การเลือกตั้งประธานาธิบดีในเดือนสิงหาคมปีที่ผ่านมา ส่งผลให้อดีตนายกรัฐมนตรีเรเจบ ตอยยิบ แอรโดว์อาน ชนะการเลือกตั้งและกลายเป็นประธานาธิบดีของตุรกี ถัดจากนายอับดุลเลาะห์ กูล และมีนายอะห์มัด ดาวุดโอว์ลู เข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีแทน
เหตุปะทะระหว่างการเจรจา: ทางตันหรือบททดสอบของกระบวนการสันติภาพมินดาเนา?
โพลสันติภาพ (Peace Poll)
สุวรา แก้วนุ้ย อาจารย์นักวิจัย,
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ. ปัตตานี
“โพลสันติภาพช่วยสร้างบทสนทนาที่มีความหมาย เป็นการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นกลไกที่สามารถ ‘ต่อสาย’ ระหว่างประชาชนและนักการเมืองได้อย่างเป็นระบบ มากกว่านั้น โพลดังกล่าวยังช่วยสร้างการประนีประนอม หาจุดร่วม และช่วยทดสอบร่างข้อตกลงสันติภาพ เป็นวิธีในการช่วยสร้างกิจกรรมในหลากหลายช่อง (multi-track activity)” -- Dr.Colin John Irwin
‘Peace and Justice Dilemma’ ว่าด้วยการจัดการกับอดีตและยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน (ตอนที่ 1)
หมายเหตุ: ข้อเขียนนี้ เป็นการเรียบเรียงจากการบรรยายในห้องเรียนรายวิชาสิทธิมนุษยชน ความยุติธรรม และสันติภาพ หลักสูตรปริญญาโท สาขาความขัดแย้งและสันติศึกษา สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2558 บรรยายโดย Dr. Norbert Ropers และนางสาวอภิชญา โออินทร์ อาจารย์ประจำสถาบันสันติศึกษา
00000
เหมือนอยู่ในสงครามกลางเมือง
จุฑารัตน์ แซ่หวัง
เล่าเรื่อง
นางสาวรุสนีย์ กาเซ็ง
เขียน
ภาพเอื้อเฟื้อโดย มูลนิธิกู้ชีพ สันติ ปัตตานี
๐๐๐๐๐
สมาคมผู้หญิงเพื่อสันติภาพแถลงการณ์ประณามเหตุระเบิดที่ยะลา
แถลงการณ์ สมาคมผู้หญิงเพื่อสันติภาพ wepeace
เรื่อง ขอประณามการใช้ความรุนแรง ไร้มนุษยธรรมต่อกลุ่มประชาชนผู้บริสุทธิ์ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้