องค์กรภาคประชาสังคมในรัฐมอนแทน่า ประเทศอเมริกา (ตอนที่ 2 ) : เปิดพื้นที่สร้างสรรค์ และสร้างอาสาสมัคร
ทำไมเราต้องไปเจนีวาด้วยตนเอง (ตอนที่ 4) : ความสำคัญของ Lunch briefing และ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับองค์กรระหว่างประเทศ
วันนี้ ( 4 กรกฎาคม 2560 ) เราเริ่มต้นวันด้วยการกินข้าวเช้าแบบง่ายๆพร้อมกับการเตรียมตัวในการพบปะกับเจ้าหน้าที่ของกองทุน UN Voluntary Fund for Victims of Torture ที่สำนักงาน Office of the High Commissioner for Human Rights
"ศรีลังกา : การปราบจะนำมาซึ่งสันติภาพที่ยุติธรรมได้จริงหรือ?
เมื่อต้นเดือนมิถุนายนได้มีโอกาสไปเยือนศรีลังกาเพื่อร่วมการประชุมวิชาการเกี่ยวกับการสร้างสันติภาพในเอเชีย (Peacebuilding in Asia)[1] และไปศึกษาเกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลศรีลังกาและกลุ่ม LTTE (The Liberation Tigers of Tamil Eelam) ซึ่งในขณะนี้เรียกได้ว่าเป็นช่วง "หลังความขัดแย้ง" (post-conflict) มีบทเรียนหลายอย่างที่อาจจะเป็นประโยชน์ในการทำความเข้าในเรื่องภาคใต้ เลยอยากจะนำมาเล่าสู่กันฟัง
ทำไมเราต้องไปเจนีวาด้วยตนเอง (ตอนที่ 3) : เริ่มต้นทำงาน
เช้าวันที่ 2 ของการมาถึงเจนีวาเราเริ่มต้นด้วยการไปหาซื้อตั๋วรถโดยสารสาธารณะที่สถานีรถไฟหัวลำโพง เฮ้ยไม่ใช่ เป็น สถานีรถไฟ ที่รถเกือบทุกสายจะมาจอดที่นี้ ที่จะใช้เดินทางได้ในเจนีวาทั้งรถบัส รถราง และ เรือ อาทิตย์ละ 38 ฟรังส์สวิส เพราะตอนที่เราออกจากสนามบินเจนีวาจะมีเครื่องออกตั๋วให้ผู้ที่เดินทางเข้าประเทศฟรี 1 ชั่วโมง พอหมดชั่วโมงก็ต้องซื้อที่ป้ายที่เราจะขึ้น ถ้าไม่มีตั๋วอาจเจอแจ๊ตพอต เจ้าหน้าที่ขึ้นมาตรวจได้นะจ๊ะ
บทเรียนชีวิต 8 ศพ เพราะธุรกิจดอกเบี้ยสิ่งที่ทุกคนต้องตระหนัก
บทเรียนชีวิต 8 ศพ เพราะธุรกิจดอกเบี้ยสิ่งที่ทุกคนต้องตระหนัก
อุสตาซอับดุชชะกูรฺ บินชาฟิอีย์ (อับดุลสุโก ดินอะ)
กรรมการสภาประชาสังคมชายแดนใต้
[email protected], http://www.oknation.net/blog/shukur
ความขัดแย้งชายแดนใต้ในรอบ 13 ปี: ความซับซ้อนของสนามความรุนแรงและพลังของบทสนทนาสันติภาพปาตานี
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มอ.ปัตตานี
องค์กรภาคประชาสังคมในรัฐมอนแทน่า ประเทศอเมริกา (ตอนที่ 1) : การบริจาคคือการลงทุนที่สำคัญยิ่ง
รอฮานี จือนารา
ผู้ปฏิบัติงานศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ ม.อ.ปัตตานี
อนาคต “ความเป็นเรา” ในความหมายใหม่ : จากมุสลิมในโลกตะวันตกสู่มุสลิมตะวันตก (ตอนจบ)
ศ.ดร. ฏอริก รอมฎอน เขียน อิมรอน โสะสัน แปล/เรียบเรียง