ทำไมเราต้องไปเจนีวาด้วยตนเอง ตอนที่ 2 (การเตรียมตัว)
อัญชนา หีมมิหน๊ะ หัวหน้ากลุ่มด้วยใจ
อนาคต “ความเป็นเรา” ในความหมายใหม่ : จากมุสลิมในโลกตะวันตกสู่มุสลิมตะวันตก (ตอนที่ 3)
ศ.ดร. ฏอริก รอมฎอน เขียน อิมรอน โสะสัน แปล/เรียบเรียง
บันทึกวิดีโอเสวนาโต๊ะกลมในงานไทยศึกษา ครั้งที่ 13 ว่าด้วยการศึกษาของชาวมลายูมุสลิมชายแดนใต้
ขอเชิญผู้สนใจรับชมบันทึกเวทีเสวนาโต๊ะกลมในงานประชุมวิชาการนานาชาติด้านไทยศึกษาครั้งที่ 13 ในหัวข้อ
การบ่มเพาะตนเพื่อเป็น “มุสลิมที่ดี” และการแสวงหา “ชีวิตที่ดีกว่า” ผ่านการศึกษาแบบเป็นทางการ: การดิ้นรนและการริเริ่มสร้างสรรค์ในด้านการศึกษาของชาวมลายูมุสลิมชายแดนใต้
วันที่ 16 กรกฎาคม 2560 เวลา 11-12.30 น. ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ จ.เชียงใหม่
กระบวนการสันติภาพมินดาเนาในสมัยประธานาธิบดีดูเตอร์เต: หลากมุมมองความคืบหน้าและสิ่งท้าทาย
ฟารีดา ปันจอร์
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้
อนาคต “ความเป็นเรา” ในความหมายใหม่ : จากมุสลิมในโลกตะวันตกสู่มุสลิมตะวันตก (ตอนที่ 2)
ศ.ดร. ฏอริก รอมฎอน เขียน อิมรอน โสะสัน แปล/เรียบเรียง
(ภาพอ้างอิงจาก http://www.jewishworldreview.com/0705/west072205.php3)
มาเลเซียปล่อยตัวหะยี สะมะแอ ท่าน้ำ และนายยูโซะ นาวิก เมื่อวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา
มาเลเซียปล่อยตัวหะยี สะมะแอ ท่าน้ำ และนายยูโซะ นาวิก เมื่อวันพฤหัสบดี
ทำไมเราต้องไปเจนีวาด้วยตนเอง ตอนที่ 1 (ไม่มีอะไรที่ทำไม่ได้ถ้ามุ่งมั่นและตั้งใจ)
ในช่วงเดือนมิถุนายน 2017 เป็นช่วงเดือนรอมฎอนและเป็นช่วงที่ต้องเขียนรายงาน CEDAW หรือรายงานเงาของอนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีทุกรูปแบบ ที่ไทยได้ลงนามมากว่า 30 ปีแล้ว และเป็นช่วงที่เขียนบทความเพื่อนำเสนอบทความทางวิชาการร่วมกับเพื่อนอีกหนึ่งงาน และไม่คิดว่าจะไปเจนีวาเพื่อเข้าร่วมเวทีครั้งที่ 67 ของการรายงานอนุสัญญา CEDAW ทั่วโลก แต่ด้วยแรงกระตุ้นของผู้หญิงคนหนึ่ง พรเพ็ญ คงขจรเกียรติ ที่บอกว่าเราจะไปเจนีวากัน เราต้องหาทุนไป แล้วเราจะไปหาที่ไหนละในระยะเวลาอันสั้น
HopeNews รายงานกิจกรรมอบรม สุมหัวคนเก๋าๆ สร้างนักสื่อสารเยาวชนรุ่นใหม่ๆ
15 กค60 โครงการ workshop เพื่อทำหลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการ Media Facilitator โครงการสื่อสารเพื่อสิทธิเด็กในพื้นที่ขัดแย้งชายแดนใต้/ปาตานี โดยโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ)
อนาคต “ความเป็นเรา” ในความหมายใหม่ : จากมุสลิมในโลกตะวันตกสู่มุสลิมตะวันตก (ตอนที่ 1)
ศ.ดร. ฏอริก รอมฎอน เขียน อิมรอน โสะสัน แปล/เรียบเรียง
...บทความนี้เป็นการกล่าวถึงการสนทนาระหว่างความสัมพันธ์ระหว่าง “มุสลิม” “อิสลาม” กับ “โลกตะวันตก” ซึ่งจะเห็นได้ว่าความต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงการรับรู้ถึง “อิสลาม” ในประชาคมมุสลิมเอง ผู้เลื่อมใสในศาสนาอื่น หรือแม้ผู้ที่ไม่ได้เชื่อในศาสนาใดๆกำลังได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้น...