Skip to main content

สันติสนทนาในบริบทของความรุนแรงที่ภาคใต้

หมายเหตุ: บทความชิ้นนี้เผยแพร่ครั้งแรกเป็นภาษาอังกฤษในเว็บไซต์และหนังสือพิมพ์ Bangkok Post เมื่อวันที่ 6 เมษายน 2555 ในชื่อ “Building the case for peace dialogues” ข้อเขียนข้างล่างนี้เป็นบทความฉบับเต็มที่ได้รับการอนุญาตให้กองบรรณาธิการทำการแปลและผ่านการตรวจทานโดยผู้เขียน กองบรรณาธิการเห็นว่าในสถานการณ์ที่ความรุนแรงกดทับและมีการถกเถียงถึงกระบวนการสันติสนทนาและการเจรจาสันติภาพอย่าง

2563 เปลี่ยนประเทศไทย: ปกครองตนเอง?

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

 

          "รายการ 2563 เปลี่ยนประเทศไทย" ที่ออกอากาศทางทีวีไทยต่อเนื่องกัน 3 สัปดาห์เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาได้อภิปรายกันในประเด็นปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐส่วนกลางที่รวมศูนย์อำนาจและข้อเสนอในการผ่องถ่ายอำนาจให้ท้องถิ่นจัดการตัวเองโดยที่สอดคล้องกับอัตลักษณ์และปัญหาเฉพาะพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็น "เขตวัฒนธรรมพิเศษ" ของกลุ่มชาติพันธุ์ "เขตเศรษฐกิจพิเศษ" ของเมืองชายแดนภาคเหนือ และที่สำคัญในกรณี "เขตปกครองพิเศษ" ของจังหวัดชายแดนภาคใต้

สรุปหกปีไฟใต้: พลวัตการก่อความไม่สงบกับการสร้างจินตกรรมของการก่อความรุนแรง

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 

Subscribe to การเมืองนำการทหาร