ชายแดนใต้/ปาตานี 2547-2564: ก้าวเข้าปีที่สิบเก้า สันติภาพจะเดินหน้าไปถึงไหนในปี 2565?
ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี
สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้
สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
ชุมคน ชุมชน คนใต้: สถานการณ์ปัจจุบันและอนาคตที่ควรจะเป็น
29 มิ.ย. 2559 ในงาน “จับปลาต้องลงน้ำ: 30 ปี กับบทเรียนการเคลื่อนไหวภาคประชาชนภาคใต้” ณ สถาบันทักษิณคดีศึกษา บนเกาะยอกลางทะเลสาบสงขลา อ.เมือง จ.สงขลา โดยจะมีนักพัฒนาเอกชน (NGOs) แกนนำชุมชน ภาคประชาสังคม นักวิชาการ นักศึกษา ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศิลปินเพื่อสังคม สื่อมวลชนในภาคใต้ และส่วนหนึ่งจากทั่วประเทศเข้าร่วมประมาณ 300 คน
Peace Survey สะท้อนเสียง ปชช. "สันติภาพต้องเดินหน้า"
‘ฮิวแมนไรต์วอทช์’ ย้อนรอยเหตุปะทะ ‘รพ.เจาะไอร้อง’ ผ่านกฎหมาย IHL
กว่าสามสัปดาห์ (13 มี.ค.2559) ภายหลังการเผชิญหน้ากันระหว่างผู้ก่อเหตุการณ์ความไม่สงบยิงปะทะใส่ฐานปฏิบัติการร้อย ทพ.4816 กรมทหารพรานที่ 48 หมู่ 2 ต.จวบ อยู่ตรงข้ามกับ รพ.เจาะไอร้อง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส และยังถือเป็นอีกหนึ่งใน 17 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในวันเดียวกันทั้งใน จ.นราธิวาส และ จ.ยะลา ซึ่งตรงกับวันสถาปนาแนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปาตานี หรือที่รู้จักกันในน
เหตุป่วนเจาะไอร้อง “พื้นที่ปลอดภัย” ชายแดนใต้ รับสันติภาพเดินหน้า
จากเว็บไซต์ นักข่าวพลเมือง รายงานว่า บ่ายวานนี้ (13 มี.ค. 2559) เกิดเหตุความไม่สงบในพื้นที่อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส 3 จุดในเวลาไล่เลี่ยกัน โดยเป้าหมายส่วนใหญ่เป็นเจ้าหน้าที่รัฐ
เสียงนักศึกษาต่างพื้นที่ต่อสันติภาพชายแดนใต้
28กุมภาพันธ์59 เป็นวันครบรอบ วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้ปาตานีครั้งที่3 ภายใต้แนวคิดสันติภาพเดินหน้า จึงมีเสียงสะท้อนจากนักศึกษาต่างพื้นที่ ต่อสันติภาพชายแดนใต้ ผ่านการตั้งคำถามและความคาดหวังที่อยากให้สันติภาพเดินต่อ ในมุมมองของพวกเขา
วัฒนธรรมเรียกร้องสิทธิ กลไกสร้างสันติภาพชายแดนใต้
เนื่องในวันครบรอบ 3 ปีการพูดคุยสันติภาพ 28 กุมภาฯ องค์กรภาคประชาสังคมร่วมกันจัดงาน “วันสื่อสันติภาพชายแดนใต้/ปาตานีครั้งที่ 3 และสมัชชาสันติภาพ 2016” ที่ ม.อ.ปัตตานี ชูแนวคิด “สันติภาพเดินหน้า” (Peace Moving Forward) เปิดโอกาสทุกฝ่ายบนโต๊ะพูดคุยรายงานความคืบหน้าต่อสาธารณะ พร้อมรับ “วาระสันติภาพจากพื้นที่” (Agenda Damai Dari Rakyat) เป็นวาระในกระบวนการพูดคุยสันติภาพ
จดหมายเปิดผนึกจาก PERMATAMAS ถึงนายกรัฐมนตรี คัดค้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา
เมื่อภาคประชาชนชายแดนใต้ในนามเครือข่าย PERMATAMAS และนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ได้เดินทางบุกกรุงเทพ เพื่อแสดงเจตนารมย์ ขอให้รัฐบาลยกเลิกโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา จึงเป็นที่มาขอยื่นหนังสือที่ทำเนียบรัฐบาล ในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2559 ดังเนื้อหาสาระที่เข้มข้นอย่างยิ่งดังต่อไปนี้
จดหมายเปิดผนึกถึงนายกรัฐมนตรี เพื่อคัดค้านโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา
เดินหน้า Peace Survey ชายแดนใต้
ตลอดช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมา การสำรวจความคิดเห็น หรือ โพล ต่างๆ ต่อประเด็นสันติภาพและความขัดแย้งในพื้นที่ชายแดนใต้ได้มีการศึกษาไว้หลายครั้ง แต่หากเครือข่ายสถาบันวิชาการร่วมกับภาคประชาสังคมในพื้นที่ ร่วมกันทำPeace Survey หรือ การสำรวจความคิดเห็นประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพ