Skip to main content

เกร็ดความรู้ในแง่กฎหมายที่เห็นต่างกัน ตอนที่ 3: ปัญหา จชต. เป็นความขัดแย้งกันด้วยอาวุธ (Armed conflict) หรือไม่?

‘อสนียาพร  นนทิพากร’

ในขณะที่รัฐบาลไทยกำลังเดินหน้าพูดคุยสันติสุข (Dialogue to foster Harmony) กับกลุ่มผู้คิดต่างจากรัฐ โดยมีการรวมกลุ่มของฝ่าย “มารา ปัตตานี” เป็นการร่วมมือกันของกลุ่มก่อความไม่สงบในภาคใต้ของไทย 6 กลุ่มด้วยกัน ได้แก่ แนวร่วมปฏิวัติแห่งชาติมลายูปาตานี (บีอาร์เอ็น), แนวร่วมอิสลามปลดปล่อยปาตานี (บีไอพีพี), องค์การปลดปล่อยสหปาตานี (พูโล) 3 กลุ่ม, ขบวนการมูญาฮิดีนอิสลามปาตานี (จีเอ็มไอพี)

OIC กับการพูดคุยสันติภาพภายใต้รัฐบาลทหาร

การเยือนประเทศไทยอย่างเป็นทางการของเลขาธิการองค์กรความร่วมมืออิสลาม (Orginaisation of Islamic Cooperation – OIC) คนใหม่ นาย Iyad Ameen Madani มีหลายประเด็นชวนให้ขบคิดเกี่ยวกับบทบาทของ OIC กับการพูดคุยระหว่างรัฐบาลไทยและ “ผู้เห็นต่างจากรัฐ” เกี่ยวกับความขัดแย้งในภาคใต้

เวทีเสวนา "บทบาทภาคประชาสังคมกับกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข"

ลงทะเบียน

เข้าร่วมเวทีเสวนา "บทบาทภาคประชาสังคมกับกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข"

วันจันทร์ ที่ 25 มกราคม 2559 เวลา 08:00-12:00 น

ณ ห้องน้ำพราว 2 โรงแรมซี เอส ปัตตานี

บรรยากาศงานแถลงข่าว ความเห็นฯ สันติภาพของประชาชน (Peace Survey)

ประมวลภาพบรรยากาศงานแถลงข่าวการดำเนินงานโครงการสำรวจความคิดเห็นประชาชนต่อกระบวนการสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้ (Peace Survey) ณ ห้องประชุมศรีวังสา คณะรัฐศาสตร์ มอ.ปัตตานี
 
(18 มกราคม 2559)
 
 
 

ภาพบรรยากาศ เวทีคนไทยขอมือหน่อย เชิญ DSJ ร่วมพูดคุยการสื่อสารสันติภาพ

ประมวลภาพบรรยากาศเวทีภายในมหกรรม "คนไทยขอมือหน่อย" ที่จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14-17 มกราคม 2559 ณ รอบย่านราชประสงค์ และเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ ซึ่งวันสุดท้ายของงานมีการเชิญโรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ (DSJ) มาร่วมพูดคุยในหัวข้อ "แนวคิดในการทำงานขับเคลื่อนการสื่อสารความรู้เพื่อสร้างสันติภาพในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้" โดยมี นายมูฮำหมัด ดือราแม บรรณาธิการ DSJ นายสะรอนี ดือเระ บรรณาธิการ DSJ และนายอิมรอน ซาเหาะ ผู้สื่อข่าว DSJ ร่วมกันนำเสนอประสบการณ์การสื่อสารสันติภาพจากพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้
 

แถลงการณ์ฉบับที่1 เครือข่ายประชาชนจชต.ปกป้องสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อสันติภาพ(PERMATAMAS)

เครือข่ายประชาชนจชต.ปกป้องสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อสันติภาพ(PERMATAMAS) เป็นองค์กรใหม่ที่ตั้งขึ้นมาเพราะการเข้ามาของโครงการยักษ์ใหญ่ โรงไฟฟ้าถ่านหินเทพา ที่ กฟผ.ได้แอบมาดำเนินการผลักดันโครงการอย่างรีบเร่งและปิดกั้นการมีส่วนร่วมของคนชายแดนใต้ จากการหารือหลายครั้ง ในที่สุดกลุ่ม PERMATAMAS ก็ได้มีการออกแถลงการณ์ประกาศในการประชุมและเคลื่อนไหวที่บ้านคลองประดู่ ปากบางเทพา ดังมีสาระดังนี้

 

แถลงการณ์ฉบับที่1 เครือข่ายประชาชนจชต.ปกป้องสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อมเพื่อสันติภาพ(PERMATAMAS)

12 ปี ชายแดนใต้กับการสื่อสารเพื่อสันติภาพ

การสื่อสารถือเป็นพัฒนาการสำคัญที่จะหนุนเสริมกระบวนการสันติภาพ ระหว่าง12 ปีความขัดแย้งชายแดนใต้ กับ 3 ปีของกระบวนการสันติภาพที่ดำเนินมาถึงนี้มีอะไรที่เปลี่ยนแปลงไป วันนี้ นักข่าวพลเมือง โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ได้สะท้อนมุมมองผู้ขับเคลื่อนและทำงานสันติภาพในพื้นที่