Skip to main content

ย้อนอ่านเรื่องจากปก : ปฏิบัติการข่าวสาร จุดชนวนสงครามความรู้สึก #dsb v.3

 

หมายเหตุ : ตีพิมพ์ครั้งแรกในวารสารเพื่อการเรียนรู้และเข้าใจชายแดนใต้ "ดีพเซาท์ บุ๊กกาซีน" ฉบับที่ 3 เดือนเมษายน ปี 2551 (มูฮำมัดอายุบ ปาทาน, ปกรณ์ พึ่งเนตร บรรณาธิการ)

 

100 ปีกฎอัยการศึก 10 ปี ณ ปาตานี: บทบาทของอูลามาอฺที่หายไป

Abdulloh Wanahmad; AwanBook

กว่าหนึ่งทศวรรษที่สังคมมลายูปาตานีต้องเผชิญกับความหวาดกลัว ต้องใช้ชีวิตอย่างห่วงหน้าพะวงหลังในความปลอดภัยของตนเอง ที่ถูกครอบงำโดยกฎหมายฉบับพิเศษฉบับแล้วฉบับเล่า ที่ได้ประกาศใช้โดยผู้มีอำนาจจากส่วนกลางผ่านกลไกของรัฐที่มีอยู่ ทั้งฝ่ายพลเรือนและฝ่ายความมั่นคง ที่มีอำนาจอยู่ในมือ เพื่อเป็นเครื่องมือในการป้องปรามเหตุร้ายที่อาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ ที่อาจนำไปสู่การเสียบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศได้ในอนาคต

คำ “ขอโทษ” “ครอบครัวนีละไพจิตร”

ฉันขอเริ่มด้วยการ “ขอโทษ” ครอบครัว “นีละไพจิตร” ในฐานะพลเมืองของสังคมนี้ ที่ปล่อยให้สมาชิกในครอบครัวคือ ทนายความสมชาย นีละไพจิตร ถูกอุ้มหายไป ในช่วงกลางวันแสกๆ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 ซึ่งครบ 10 ปี ในวันนี้
 

ประมวลภาพงานมอบรางวัล 'สตรีต้นแบบ' และนิทรรศการภาพถ่าย 'ดอกไม้กลางไฟใต้'

ประมวลภาพงานมอบรางวัล 'สตรีต้นแบบ' และนิทรรศการภาพถ่าย 'ดอกไม้กลางไฟใต้'
Deep South Insight : Women Across Barriers
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2557 ณ มิวเซียมสยาม กรุงเทพฯ
ภาพโดย ปิยศักดิ์ อู่ทรัพย์

องค์การอ๊อกแฟม ประเทศไทย ร่วมกับมูลนิธิยูนิลีเวอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้ สายการบินนกแอร์ กลุ่มสห+ภาพ และสถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (มิวเซียมสยาม) จัดพิธีมอบรางวัล "สตรีต้นแบบ" ให้กับ 10 สตรีผู้นำที่ทำงานเสียสละให้แก่ชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมี 'นายพลากร สุวรรณรัฐ' องคมนตรี เป็นผู้มอบรางวัล