Skip to main content

ชีวิต(ที่ไม่มีชีวิต) ณ ทุ่งยางแดง ตอน ซุไฮมี เซ็นและ

 

อารีด้า สาเม๊าะ เครือข่ายผู้หญิงภาคประชาสังคมเพื่อสันติภาพชายแดนใต้

 

 

ทุ่งยางแดง: ภายใต้ความเงียบ

นวลน้อย ธรรมเสถียร

 

ถนนเข้าสู่บ้านโต๊ะชูดวันนี้เงียบ

พื้นที่ที่เพิ่งผ่านการปะทะแค่ข้ามคืนกลับเงียบเชียบราวกับไม่มีอะไรเกิดขึ้น นับเป็นความแปลกอย่างหนึ่งก็ว่าได้

ความเห็นสู่ทางออกทุ่งยางแดง

หลังการปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ซึ่งเข้าตรวจสอบความผิดปกติในพื้นที่ อ.ทุ่งยางแดง จ.ปัตตานีและเกิดเหตุปะทะทำให้มีผู้เสียชีวิต  4 คน เมื่อวันที่ 25 มีนาคมที่ผ่านมา ซึ่งความคืบหน้าล่าสุดมีการตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง   โดยมีข้อเสนอถึงความชัดเจนของนโยบายไปละเมิดสิทธิของประชาชน

เมื่อเสาหลักครอบครัวโดนคุมขังคดีความมั่นคง

‘อสนียาพร นนทิพากร’

ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่เกิดจากการก่อเหตุสร้างสถานการณ์ของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบสิบกว่าปีที่ผ่านมา ได้สร้างผลกระทบต่อสังคม ชุมชน และสถาบันครอบครัวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยเฉพาะผู้บริสุทธิ์ที่ถูกกระทำต้องบาดเจ็บล้มตาย บางรายถึงกับพิการตกเป็นภาระครอบครัว บุคคลเหล่านี้ถึงแม้จะได้รับการดูแลเยียวยาจากทุกภาคส่วนแล้ว แต่ในความเป็นจริงสภาพจิตใจยังคงย่ำแย่เสมือนหนึ่งเพิ่งผ่านจากเหตุฝันร้ายมาสดๆ ร้อนๆ

ใครคือชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและลังกาสุกะ?

อัศโตรา ชาบัต*
 
ชาวพุทธใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่ใช่ทั้งหมดเป็นชาวไทยมาจากแผ่นดินสยาม สมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี-รัฒนะโกสินทร์ แต่พวกเขาเป็นชาวพุทธในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบน เชื่อสายชาวมลายูพุทธศรีวิชัยและชาวมลายูพุทธลังกาสุกะ
 
บางส่วนของชาวไทยพุทธภาคใต้ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบนนั้นเป็นเชื่อสายชาวอินเดีย ชาวทมิฬ ชาวมอญ ชาวขอม ชาวจีนและชาวอื่นๆ ที่เคยตั้งรกราก หรือปกครองแผ่นดินปลายด้ามขวานก่อนและหลังอาณาจักรศรีวิชัยและลังกาสุกะไปอีก
 

แถลงการณ์ กรณีเหตุการณ์ความรุนแรงที่ทุ่งยางแดง จ. ปัตตานี

แถลงการณ์ ร่วมองค์กรพัฒนาเอกชน

กรณีเหตุการณ์ความรุนแรงที่ทุ่งยางแดง จ. ปัตตานี

ขอให้คณะกรรมการตรวจสอบมิใช่ แค่เยียวยาผู้เสียหาย ต้องนำผู้กระทำผิดมาลงโทษ

0000

 

เผยแพร่วันที่ 29  มีนาคม 2558