Skip to main content

ก้าวต่อไปของบีอาร์เอ็นอาจต้องลุ้นกันอีกยาว

ก้าวต่อไปของบีอาร์เอ็นอาจต้องลุ้นกันอีกยาว

Abdulloh Wanahmad:Awan Book

เมื่อเอกราชคือเป้าหมายสูงสุดของบีอาร์เอ็น การปกครองพิเศษภายใต้รัฐธรรมนูญไทยเป็นได้แค่วาทกรรม ณ ขอบโต๊ะเจรจาเท่านั้น มิอาจเป็นความคาดหวังของชาวปาตานีได้อีกต่อไป และเป็นการสะท้อนให้เห็นว่า ความขัดแย้งที่ปาตานีอาจยืดเยื้อยาวนานเกินกว่าที่จะคาดเดาได้ว่า ในอนาคตข้างหน้า วิกฤติความวุ่นวายที่มีรูปแบบกึ่งสงครามกึ่งกองโจรจะลงเอยอย่างไร

ย้อนรอยสื่อทางเลือกชายแดนใต้ 2: “เชื่อมร้อยเครือข่าย ผสานกำลังสื่อ สร้างพลังต่อรอง”

 
การสร้าง "พื้นที่สาธารณะ" เป็นอำนาจทางสังคมรูปแบบหนึ่ง ที่สามารถดูดพลังอำนาจของประชาชน พลเมืองกลุ่มต่างๆ มารวมตัวกันเพื่อแสดงบทบาทของภาคพลเมืองจนสามารถกำหนดวาระสำคัญของกลุ่มหรือเครือข่ายขึ้นมาให้ได้ (civic assembly) โดยมี “ปฏิบัติการสื่อสาร” (communicative action) ที่สามารถท้าทายข้ออ้างและความชอบธรรมที่ดำรงอยู่อย่างไม่เคยถูกตั้งคำถามได้ คือยกระดับเป็น “ผู้ชี้นำ” มากกว่าการเป็นส่วนประกอบของสื่อกระแสหลัก นี่คือความท้าทายบทบาทของสื่อทางเลือกชายแดนใต้

อนุสรณ์ อุณโณ : จุดไฟในพายุ สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแ­­­­ย้งทางการเมือง

ผศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวในงานเสวนาวิชาการ "จุดไฟในพายุ" สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแ­­­­ย้งทางการเมือง ณ ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร อาคารอเนกประสงค์ 1 ชั้น 3 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ เมื่อวันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2556 ซึ่งจัดโดย ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย CCSCS คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (รายละเอียด http://www.deepsouthwatch.org/node/5039)

ยูเอ็นขอความร่วมมือ CSOs ส่งรายงานเกี่ยวกับการทรมานในไทย

color:#222222">ยูเอ็นประกาศขอความร่วมมือองค์กรภาคประชาสังคมส่งรายงานข้อมูลเกี่ยวกับการทรมานในไทย เพื่อประกอบการพิจารณารายงานของไทยในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปีหน้า