Skip to main content

“คนกลาง” และ “พื้นที่กลาง” ในความขัดแย้งแบบแบ่งขั้วของการเมืองไทย?

สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองไทย ณ ตอนนี้เป็นไปอย่างแบ่งขั้วชัดเจน แม้ดูจะปรากฏ ทางลง ขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาลและ บช.น.

ทางออกประเทศไทย - ผศ.ดร.ศรีสมภพ

ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ และศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ กล่าวให้ความเห็นต่อกรณีความขัดแย้งทางการเมืองในรายการ 'ทางออกประเทศไทย' ของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 

คำชี้แจงและจุดยันของบีอาร์เอ็น

อับดุลเลาะ วันอะฮ์หมัด AwanBook

ด้วยพระนามของอัลลอฮ์ผู้ทรงเมตตากรุณาปราณีเสมอ

ขอความสันติสุขจงมีแด่ท่าน

ข้าพเจ้าฮะซัน ตอยิบ อดีตคณะผู้แทนการเจรจาบีอาร์เอ็น

คำชี้แจงและจุดยัน

บีอาร์เอ็นคือขบวนการการเคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยปาตานี จากอาณัติการปกครองของนักล่าอาณานิคมสยาม ในการที่จะสร้างความยุติธรรมและความเจริญรุ่งเรืองให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนชาวปาตานีทั้งมวล ตามประโยคที่ว่าเอกราชปาตานี(patani merdeka) นี่คือสันติภาพที่แท้จริง ไม่ใช่สันติภาพภายใต้ระบอบของนักล่าอาญานิคมสยาม

ทำไมเราต้องพูดคุยกัน

ผมไม่เคยมีปัญหาเมื่อเข้ากับคนมลายูในปาตานี เพราะผมนับถือศาสนาเดียวกันกับพวกเขา และพูดภาษามลายูได้ดีกว่าภาษาไทยหลายเท่า ในตรงกันข้าม ก่อนหน้านี้ ผมไม่ค่อยมีโอกาสที่จะรู้จักคนไทยพุทธ (หรือคนสยาม ซึ่งคนปาตานีเรียกว่า ซีแย) อย่างใกล้ชิด อย่างน้อยเท่ากับคนมลายู ซึ่งทำให้ผมมีความรู้เกี่ยวกับชาวไทยพุทธน้อยมาก แต่ผมก็ไม่ค่อยพยายามเพื่อรู้ชาวพุทธโดยหาความรู้หรือหาข้อมูลโดยตรงจากพวกเขา ผมมักจะอาศัยการสร้างภาพลักษณ์ของพวกเขาตามข้อมูลจำกัดและอาจไม่ถูกต้องที่ผมได้รับมา สิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ ความคิดหรือความเชื่อว่า “คนไทยเป็นแบบนี้” “พวกซีแยคิดแบบนี้”

ประมวลภาพบรรยากาศ "ดร.วันกาเดร์" ร่วมเสวนา "หนึ่งทศวรรษปัญหาใต้ฯ" ณ สมาคมนักข่าวฯ กรุงเทพฯ

ราชดำเนินเสวนา
"หนึ่งทศวรรษปัญหาใต้ในมุมมองของ ดร.วันกาเดร์ เจ๊ะมัน และ ดร.จรัญ มะลูลีม"

วันพฤหัสบดีที่  28 พฤศจิกายน 2556เวลา 13.00-15.30 น.
ณ สมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย กรุงเทพฯ