19 ประเด็นกับความแปรปรวนที่เป็นพิษ: บทวิเคราะห์สถานการณ์ชายแดนใต้ในวันที่สภาวะคงที่กำลังเปลี่ยนไป
ประเมินคู่สงคราม: วิเคราะห์สถานการณ์และแนวโน้มความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ปี 2555 – 2557
อนาคตไฟใต้ในมือแม่ทัพใหม่
ไชยยงค์ มณีพิลึก
การเมืองนำประชาธิปัตย์ นโยบายดับไฟใต้ที่ไม่มีอะไรพิเศษ
มาร์ค แอสคิว
นักวิจัยอาวุโส สถานวิจัยความขัดแย้งและความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้ (CSCD) ม.สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ยูเอ็นกับ กอ.รมน. และความเป็นจริงในสถานการณ์
ไชยยงค์ มณีพิลึก
ตัวเลขคนตายจากการก่อเหตุร้ายในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่บางวันสูงถึง 8 ศพ รวมทั้งเหตุซุ่มโจมตีและเหตุวางระเบิดที่มีเป้าหมายต่อเจ้าหน้าที่รัฐ ซึ่งกลายเป็นสถานการณ์ “รายวัน” ที่ประชาชน และ “สื่อ” เกือบจะไม่ให้ความสำคัญไปแล้ว คงเป็นคำตอบที่ชัดเจนว่า เหตุการณ์การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังดำรงอยู่อย่างเข้มข้นและยังดำเนินต่อไปอีกยาวนาน
รากเหง้าของปัญหายังไม่คลี่คลาย...คำตอบของสถานการณ์ไฟใต้ที่กลับมาคุโชนอีกครั้ง
ไชยยงค์ มณีพิลึก
เหตุการณ์ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ดูเหมือนจะลดจำนวนลง แต่กลับเกิดถี่ขึ้นและสร้างความสูญเสียมากขึ้นตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค.เป็นต้นมาซึ่ง “ครู” กลับมาเป็น “เหยื่อ” ของสถานการณ์อีกครั้ง โดยต้องสังเวยชีวิตไปถึง 4 ศพแล้ว ยังไม่นับรวมตำรวจ ทหาร อส. ทหารพราน ต้องมาตายและบาดเจ็บจากการถูกซุ่มโจมตีอีกจำนวนมาก ในขณะที่ประชาชนต้องตกเป็น “เหยื่อ” จาก “คารบอมบ์” ครั้งใหญ่ที่กลางอำเภอยี่งอ จ.นราธิวาส อีกหลายสิบคน
ถามถึงความรุนแรงที่ยังรุมเร้า ฟังเสียงผู้กุมนโยบาย “อภิสิทธิ เวชชาชีวะ” ฟังเสียงผู้ปฎิบัติงาน “ถาวร เสนเนียม”
ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้
(Deep South Watch)
กอ.รมน.กับการผลักดันกฎหมายความมั่นคงซ้อนทับในชายแดนใต้
รอมฎอน ปันจอร์